อปจายนมัย : หนทางสู่ความรุ่งโรจน์
อปจายนมัย มาจากศัพท์ว่า อป (ปราศ,หลีก) จายะ (ให้เกียรติ, เคารพ, บูชา, สักการะ) มยะ (สำเร็จ, เกิดจาก) รวมความว่า บุญที่เกิดจากการนอบน้อมหรือเคารพบูชาผู้ใหญ่ที่มีคุณธรรม ที่เป็นบุญเพราะผู้มีความอ่อนน้อมย่อมมีจิตที่อ่อนโยน ไม่แข็งกระด้าง ซึ่งเกิดจากการพิจารณาเห็นคุณธรรมความดีของผู้ใหญ่ที่อุดมด้วยวัยวุฒิคุณวุฒิ มีความรู้ความสามารถ และมีศีลมีธรรม
ผู้ชนะสิบทิศ ตอนที่่ ๓ ( ท่องทั่วโลกธาตุ )
มีคำหนึ่งที่ทุกท่านได้ยินกันบ่อยๆ คือคำว่า อนันตจักรวาล หมาย ถึง จำนวนจักรวาลที่นับไม่ถ้วน ดังข้ออุปมาเพื่อให้ทุกท่านพอจะนึกภาพออก สมมติว่า ถ้าเราเอาแสนโกฏิจักรวาลที่กล่าวมานั้น ทำให้เป็นพื้นที่ว่างๆ
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 69 ธรรมสโมธาน การประมวลรวมกันแห่งธรรม (2)
พระโพธิสัตว์จะต้องมีธรรมที่สำคัญอันจะเป็นเครื่องยืนยันการตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์หนึ่งในอนาคต นั่นคือ ธรรมสโมธาน
สังคมในอุดมคติ
ผู้ที่แผ่เมตตาเป็นประจำ จะทำให้หลับเป็นสุข ตื่นเป็นสุข ไม่ฝันร้าย หากฝันก็ฝันแต่เรื่องที่เป็นสิริมงคล จะเป็นที่รักทั้งของมนุษย์ และอมนุษย์ เทวดาจะคุ้มครองรักษา ศัสตราวุธ อัคคีภัย ภัยพิบัติทั้งหลายจะไม่มากลํ้ากราย จะทำให้เป็นผู้มีจิตใจมั่นคง ผิวพรรณวรรณะผ่องใส เป็นผู้ไม่หลงทำกาละ แม้ละโลกไปแล้ว จะเข้าถึงพรหมโลก
ความงดงามของพรหมภูมิ ตอนที่ 2 : ระดับชั้นของรูปพรหม
ในบรรดารูปพรหมทั้งหลายยังมีการแบ่งระดับชั้นตามภูมิที่อยู่ ซึ่งมีทั้งหมด 16 ชั้น มีหลักการแบ่งชั้น คือ แบ่งตามระดับความแก่อ่อนของกำลังฌาน
ชีวิตก็เป็นอย่างนี้ ตอนที่ 12
ตัวอย่างของอานิสงส์แห่งบุญโดยย่อ ที่เกิดจากการทุ่มเทสั่งสมบุญสร้างบารมีอย่างเต็มที่เต็มกำลังของอุบาสิกาผู้อุทิศชีวิตให้พระพุทธศาสนา
สัญญาเวทยิตนิโรธ
อนุปุพพวิหาร คือธรรมเป็นเครื่องอยู่ตามลำดับ ๙ ประการ ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน อากาสานัญจายตนฌาน วิญญาณัญจายตนฌาน อากิญจัญญายตนฌาน เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน และสัญญาเวทยิตนิโรธ นี้คืออนุปุพพวิหาร ๙ ประการนี้
นิพพาน บทสรุปของชีวิตในสังสารวัฏ ตอนที่ 2
ถ้อยคำที่เกี่ยวข้องกับนิพพานมีอยู่หลายคำ อาจจะเกิดข้อกังขาที่ทำให้เข้าใจสับสนได้ โดยเฉพาะในพระไตรปิฎกมีความหมายที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสไว้หลายนัยด้วยกัน
อรูปพรหมภูมิ ที่อยู่ของพรหมที่ไม่ใช่รูปพรหม
การมาบังเกิดเป็นอรูปพรหมนั้น เมื่อครั้งเป็นมนุษย์จะต้องหมั่นสั่งสมบุญทั้งทาน ศีล ภาวนา โดยเฉพาะการเจริญภาวนา จะต้องทำจนถึงขั้นได้อรูปฌาน เป็นฌานที่สูงกว่ารูปฌานขึ้นไปอีก
อรูปภพ
คำว่าอรูปพรหม ไม่ได้หมายความว่า พรหมผู้ไม่มีรูปร่าง ท่านมีรูปกาย มีความสวยงามยิ่งกว่าพรหมในรูปภพเสียอีก ท่านสง่างามกว่า และประณีตกว่า เพราะท่านได้กายที่ใกล้เคียงลักษณะมหาบุรุษเข้าไปเรื่อยๆ ซึ่งเป็นกายที่สมบูรณ์แบบที่สุด ถ้าสูงขึ้นไปจากอรูปภพก็จะเป็นอายตนนิพพาน เหมือนคำว่าอมนุษย์ ไม่ได้หมายว่าไม่มีมนุษย์ เพียงแต่ว่าไม่ใช่มนุษย์เท่านั้นเอง อรูปพรหมก็ไม่ได้หมายความว่าไม่มีรูปพรหม แต่แปลว่า ไม่ใช่รูปพรหม