สสส.หนุนใช้ 3 กลยุทธ์เด็ด ช่วยคนไทยลดสูบบุหรี่ลงต่อเนื่อง
สสส.สกัดบุหรี่ได้ผลคนไทยสูบบุหรี่ลดลงต่อเนื่อง หนุนชุมชน ใช้ 3 กลยุทธ์ "สร้าง-เสริม-ส่วนร่วม" ขับเคลื่อนรณรงค์ "เลิกสูบ ก็เจอสุข" ชู 5 วิถี ปลอดบุหรี่โดยชุมชนท้องถิ่น "สร้างบุคคลต้นแบบ-เพิ่มพื้นที่ปลอดบุหรี่-คลินิก ปลอดบุหรี่-เพิ่มกติกาทางสังคม-บังคับใช้กฎหมายเข้มงวด" มั่นใจลดผู้สูบบุหรี่ได้สำเร็จ
วัดพระธรรมกายแมนเชสเตอร์ รับบิณฑบาตเมืองลิเวอร์พลู
คณะสงฆ์และสามเณรจากวัดพระธรรมกายแมนเชสเตอร์ ได้รับกิจนิมนต์เป็นเนื้อนาบุญรับบิณฑบาตและทำบุญถวายภัตตาหาร ณ ร้าน tuk tuk thai restaurant เมืองลิเวอร์พลู
V-Star ย่าโม ชวนตายาย เลิกเหล้า
วีรกรรมของดาวแห่งความดี เด็กดี V-Star ในวันนี้ ส่งตรงมาจากจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทย
สสส.แถลงข่าวโครงการ เข้าวัดทุกอาทิตย์จิตแจ่มใส
มูลนิธิศึกษาธิการ ร่วมกับ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ หรือ สสส.ได้ร่วมแถลงข่าวเปิดโครงการสนับสนุนวัดเพื่อพัฒนาเด็กเยาวชนและชุมชน “เข้าวัดทุกอาทิตย์จิตแจ่มใส”
วัดพระธรรมกายแคนซัส จัดพิธีอุทิศส่วนกุศล
วัดพระธรรมกายแคนซัส ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้จัดพิธีอุทิศส่วนกุศล ณ ร้าน Thai Orchid
สกุณาชาดก ชาดกว่าด้วยที่พึ่งให้โทษ
ในกาลก่อนพระภิกษุเมื่อออกบวชแล้ว ต่างก็มีวิธีในการแสวงธรรมต่างกันออกไป บ้างก็ศึกษาพระธรรมในพระอาราม บ้างก็ในป่าใหญ่ ดังเช่นภิกษุบวชใหม่รูปหนึ่งได้เลือกออกไปปฏิบัติธรรมในป่าแห่งหนึ่ง เมื่อเข้าฤดูแล้งป่าที่เคยชุ่มชื่นก็แห้งแล้งร้อนระอุ เมื่อกิ่งไม้ใบไม้เสียดสีกันมากๆ ก็เกิดเป็นเปลวไฟลุกไหม้ลามมาถึงบรรณศาลาของภิกษุ เมื่อไฟมอดลงบรรณศาลาของภิกษุก็เหลือแต่ซากเถ้าถ่าน ภิกษุจนปัญญาที่จะสร้างศาลาใหม่ได้ จึงออกจากป่าไปขอความช่วยเหลือจากชาวบ้าน
วัดพระธรรมกายนางาโน่ จัดงานบุญเนื่องในวันพระ ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 5
วัดพระธรรมกายนางาโน่ ประเทศญี่ปุ่น ได้จัดงานบุญเนื่องในวันพระ ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 5
บาปเจือจางด้วยบุญ
คำถาม : การทำบาป 1 ครั้ง ลบล้างด้วยการทำบุญหรือทำความดีกี่ครั้งถึงจะหมด
ทำบุญทุกเช้า ทำบาปทุกเย็น
คำถาม : คนที่ใส่บาตรทำบุญทุกเช้า แต่พอเวลามีใครมาทำอะไรให้ไม่พอใจ เขากลับคิดกลั่นแกล้งให้เดือดร้อน คนที่ใส่บาตรทำบุญคนนี้จะได้บุญหรือเปล่าคะ?
วัดป่างิ้ว
วัดป่างิ้ว ได้รวม วัดพญาเมือง ทางคลองด้านใต้และ วัดนางหยาด ทางคลองด้านเหนือเข้าด้วยกันเป็น วัดป่างิ้ว ตามชื่อท้องถิ่นบ้านงิ้วมีเนื้อที่ ๙๐ ไร่เศษ รูปแบบการก่อสร้างละม้ายไปตามความนิยมของท้องถิ่น ซึ่งเป็นชาวมอญเสียส่วนมาก