ชาวอินเดียวรรณะจัณฑาล 500 คนเปลี่ยนมานับถือศาสนาพุทธ
เกิดอะไรกันขึ้นหนอ เมื่อชาวอินเดียวรรณะจัณฑาลตามศาสนาฮินดูจำนวนถึง 500 คนได้เปลี่ยนไปนับถือศาสนาพุทธ ณ พิธีแห่งหนึ่งซึ่งดูแลโดยสมาคมชาวพุทธแห่งอินเดียในเขตสหรันเพอร์
ดร.เอมเบดการ์ และ เหินฟ้าสู่แดนภารตะ
“ในการมาสัมมนาครั้งนี้ เราไม่ได้มาแค่เพียงคุยกันเท่านั้น แต่ถึงเวลาแล้ว ที่จะลงมือปฏิบัติให้เกิดผลจริงจังอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากที่อินเดียรวมคนได้เก่งมาก หลวงพ่อจึงอยากเห็นการจัดบวชสามเณร 1ล้านรูป”
พุทธศาสนาในอินเดีย
อานิสงส์ของการรับบุญที่หอฉัน-ที่นี่มีคำตอบ
บุคลากรและพนักงานที่ทำงานเตรียมอาหารสำหรับถวายพระ อุปัฏฐากพระ ทำความสะอาดที่หอฉันคุณยายฯ รวมถึงพนักงาน ทีมงานต้อนรับเจ้าภาพที่หอฉัน จะได้รับอานิสงส์อย่างไรบ้าง
สัมมนาวิถีพุทธ วิถีพราหมณ์ กับวิถีความเป็นไทย
คณะกรรมาธิการ ศาสนา คุณธรรม จริยธรรม ศิลปะ และวัฒนธรรม วุฒิสภา จัดสัมมนา เรื่องวิถีพุทธ วิถีพราหมณ์ กับวิถีความเป็นไทย
กระต่ายน้อยในดวงจันทร์(ทานปรมัตถบารมี)
เมื่อให้ทานอันเลิศ บุญอันเลิศย่อมเจริญ อายุ วรรณะ ยศ เกียรติ สุข และกำลังอันเลิศก็เจริญ
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 155
สุวโปดกจึงชักอุปมาว่า “สาลิกา จ๋า อย่าว่าแต่เธอกับฉันเลย แม้แต่ในหมู่มนุษย์ พระราชามหากษัตริย์ก็ยังอยู่ร่วมกับหญิงจัณฑาลได้เลย เรื่องชาติชั้นวรรณะไม่สลักสำคัญอันใดดอกจ้ะ เธอไม่เคยได้ยินหรือว่า รักแท้ย่อมไม่มีพรมแดน สิ่งใดๆก็มิอาจกั้นขวางความรักได้เลย เพราะรักแท้ขึ้นอยู่กับความปรารถนาในกันและกันต่างหากเล่า”
กัฏฐหาริชาดก-ชาดกว่าด้วยโทษแห่งการแบ่งชนชั้น
ณ ถิ่นกำเนิดพระพุทธศาสนานั้นยังมีการถือชนชั้นกีดกันวรรณะกันอย่างรุนแรงแม้แต่ในหมู่พระประยูรญาติขององค์พระพุทธศาสดาเอง อุษาสางวาระหนึ่งเมื่อสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าสอดส่องพระญาณก็ทรงพบว่า ความทุกข์เวทจากวรรณะได้เกิดกับพระญาติแห่งศากยวงศ์
อานิสงส์การสร้างโบสถ์ วิหาร
การสร้างมหาวิหารเพื่อถวายแด่สงฆ์ผู้เดินทางมาจากทิศทั้งสี่ และให้ผู้ใคร่ในการปฏิบัติธรรมได้ใช้สอย เป็นสิ่งที่พระบรมศาสดาทรงยกย่อง นรชนใดถวายที่อยู่แก่สงฆ์ นรชนนั้นท่านกล่าวว่า ชื่อว่าให้อายุ วรรณะ สุขะ พละ และปฏิภาณอันประเสริฐ ที่พระพุทธเจ้าทรงสรรเสริญแล้ว
ต่างกันไหม คนที่ให้ทานกับไม่ให้ทาน
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ดูก่อนสุมนา คนทั้งสองนั้นพึงมีความพิเศษแตกต่างกัน คือ ผู้ให้เป็นเทวดาย่อมข่มเทวดาผู้ไม่ให้ด้วยเหตุ 5 ประการ คือ อายุ วรรณะ สุข ยศ และอธิปไตยที่เป็นทิพย์