รุกขเทวาใส่บาตรพระธรรมทายาทรุ่นแสนรูป
รุกขเทวาตักบาตรพระธรรมทายาท 6 รูป ด้วยข้าวสุก ไข่ และแกง แล้วหายตัวไป เมื่อพระธรรมทายาทเปิดบาตรดู เหลือแต่ข้าวสารกลิ่นหอมดอกมะลิ
มงคลที่ ๑๒ เลี้ยงดูบุตร - น้ำใสใจจริง จากมารดา
สามเณรได้ฟังความในใจและรับรู้ถึงความปรารถนาอัน บริสุทธิ์ของโยมมารดา ก็เกิดความสลดสังเวชใจที่ตนต้องตกอยู่ใต้อำนาจกิเลส จึงกลับได้สติมีหิริโอตตัปปะ รีบบอกโยมแม่ว่า "สามเณรไม่สึกแล้ว จะขอบวชตลอดชีวิต"
ความประเสริฐของพระโสดาบัน
โสดาปัตติผล ประเสริฐกว่าความเป็นเอกราชในแผ่นดิน ประเสริฐกว่าการไปสู่สวรรค์ และความเป็นใหญ่ในโลกทั้งปวง
มงคลที่ ๕ มีบุญวาสนามาก่อน - มหาสมบัติของผู้มีบุญ
ดูเถิดว่า บุญนี่สำคัญจริงๆ มีพลานุภาพยิ่งกว่าสิ่งใดๆ ทั้งสิ้น แม้พระบรมศาสดายังตรัสย้ำว่า "ใครมีบุญมาก สิ่งที่ดีมีสิริมงคลทั้งหลายจะไปอยู่กับผู้มีบุญมาก บุญจะดึงดูดสิริ ทั้งหลายมา ใครจะลักเอาไปไม่ได้ เป็นของอสาธารณะ"
ความวิเศษสุดของพระพุทธศาสนา
ภิกษุผู้ตั้งอยู่ในศีล สำรวมในอินทรีย์ทั้งหลาย รู้จักประมาณในโภชนะ หมั่นประกอบความเพียร ภิกษุผู้มีปกติพากเพียรอยู่อย่างนี้ ไม่เห็นแก่นอน ไม่เกียจคร้านทั้งกลางวันและกลางคืน เจริญกุศลธรรมเพื่อบรรลุคุณอันเกษมจากโยคะ ผู้ยินดีในความไม่ประมาท มีปกติเห็นภัยในความประมาท เป็นผู้ไม่ควรเพื่อความเสื่อม ย่อมเป็นผู้ปฏิบัติใกล้พระนิพพานทีเดียว
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - การตั้งตนไว้ชอบ
พราหมณ์ผู้หนึ่งชื่อ ภารทวาชะ เป็นมิจฉาทิฏฐิ อาศัยอยู่ในกรุงราชคฤห์ เขาไม่มีความศรัทธาเลื่อมใสในพระรัตนตรัย หากใครกล่าวเพียงแค่ว่า "พุทโธ ธัมโม สังโฆ" เขาจะรีบปิดหู จิตใจของเขานั้นแข็งกระด้างเช่นกับตอตะเคียน แต่พราหมณีผู้เป็นภริยาชื่อ ธนัญชานี ได้บรรลุเป็นโสดาบัน มีศรัทธาเลื่อมใสมั่นคงในพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ เมื่อสองสามีภรรยาศรัทธาต่างกันเช่นนี้จะเป็นอย่างไร
จันทกุมาร บำเพ็ญขันติบารมี (๔)
สัตบุรุษทั้งหลายบรรเทาความทุกข์อันยากที่จะอดทนได้ด้วยความสุข เพราะเป็นผู้มีจิตเยือกเย็นยิ่งนัก ในความสุข และทุกข์ทั้ง ๒ อย่าง ย่อมเป็นผู้มีจิตเป็นกลาง ทั้งในความสุขและทุกข์
พระโสณโกฬิวิสเถระ
ควรทำวันคืนไม่ให้เปล่าจากประโยชน์ ไม่ว่าจะน้อยหรือมากก็ตาม เพราะวันคืนผ่านบุคคลใดไป ชีวิตของบุคคลนั้น ย่อมพร่องจากประโยชน์นั้น
พระปิลินทวัจฉะ (๑)
สัตว์ทั้งปวงซึ่งเป็นมิตรและมิใช่มิตร ย่อมไม่เบียดเบียนเรา เราเป็นที่รักของสัตว์ทุกจำพวก นี้เป็นผลแห่งบุญกรรม
พุทธชิโนรส (๒)
จิตซึ่งบุคคลตั้งไว้ผิด พึงทำบุคคลนั้น ให้เลวทรามยิ่งกว่าความพินาศเสียหาย ที่โจรเห็นโจร หรือคนจองเวรเห็นคนจองเวรทำแก่กันนั้นเสียอีก