ธรรมทายาทนานาชาติ รุ่นที่ 7_1
ก่อนถึงวันที่เฝ้าฝัน คือ วันได้ออกบวช พวกเรานาคธรรมทายาท นานาชาติ รุ่นที่7 แม้จะมาจากคนละซีกโลก แต่ก็อยู่ด้วยกันประดุจคนในครอบครัว ทุกๆวัน คือ การเรียนรู้สิ่งที่ทรงคุณค่ามากมาย หลายคนอาจสงสัยว่า การรวมตัวกันของพวกเราเกิดขึ้นได้อย่างไร วันนี้ จึงมีตัวแทนสองท่าน มาเปิดเผยความนัยที่ไม่ซ่อนเร้นของการมาบวชครั้งนี้
พระไตรปิฎกมรดก ๙ แผ่นดินแห่งกรุงรัตนโกสินทร์
นับตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี ทรงสถาปนา “กรุงเทพมหานคร” เป็นเมืองหลวงของราชธานี จวบจนปัจจุบันนับเป็นเวลา ๒๐๐ กว่าปี ที่ปวงชนชาวไทยอยู่เย็นเป็นสุขภายใต้พระบรมโพธิสมภารของสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้าผู้ครองแผ่นดินทั้ง ๙ พระองค์...
มงคลที่ ๘ มีศิลปะ - คุณค่าแห่งศิลปะ
เมื่อชายง่อยได้เข้าเฝ้าพระราชาเพียงลําพัง พระองค์ตรัสถามชายง่อยว่า "ในราชสำนักของเรา มีปุโรหิตปากกล้าคนหนึ่ง เจ้าสามารถทำให้เขาหยุดพูดได้ไหม" ชายง่อยกราบทูลว่า "ถ้าได้มูลแพะประมาณทะนานหนึ่ง ข้าพระองค์ก็สามารถทำได้พระเจ้าข้า"
หนังสือแจ้ง กรณี เมส อาแน็ค จากรัฐบาลอัฟกานิสถานล่าสุด มีนโยบายปกป้อง Mes Aynak
คณะกรรมมาธิการ การศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมสภาผู้แทนราษฎร(กมธ.) ได้หารือกับผู้แทนกระทรวงต่างประเทศ และล่าสุดได้ส่งหนังสือทางการแจ้งความคืบหน้า โดยกล่าวถึง รายงานจาก ฯพณฯ มาวิน ตันอรรถนาวิน เอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงอิสลามาบัด สาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน ระบุรัฐบาลอัฟกานิสถาน มีนโยบายที่จะรักษาโบราณสถานแห่งนี้
ฝึกลูกนั่ง "วิปัสสนา" "รู้อะไรควร-ไม่ควร"
"โน้ส" อุดม ออกคอลเลคชั่น "เดี่ยว 7"สมทบโครงการสัญจรสอนศิลป์
เป็น อยู่ คือ วิถีชีวิตชาวมาเลเซีย
สังคมมาเลเซียมีลักษณ์เป็น พหุสังคม (Multiracial Society) ประกอบด้วยประชากรหลากหลายเชื้อชาติ ได้แก่ มาเลย์ จีน และอินเดียแต่ละเชื้อชาติมีความแตกต่างทางภาษา ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตความเป็นอยู่
The glory of Gandhara
มหกรรมโลกสู่มหกรรมเรา
โลกเราทุกวันนี้เปลี่ยนแปลงไปทุกวัน ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของเทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม ซึ่งความเปลี่ยนแปลงนี้ เราสามารถเห็นได้จากพฤติกรรมของประชากรโลก รวมถึงการจัดงานต่างๆ ทั้งของภาครัฐและเอกชน ไม่ว่าจะเป็นการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก นิทรรศการทางวิทยาศาสตร์ และงานแสดงศิลปะต่างๆ และตอนนี้มีงานหนึ่งที่ทั่วโลกกำลังให้ความสนใจก็คือ
สมุดไทย ใบลาน งานศาสน์งามศิลป์
เมื่อครั้งที่อุตสาหกรรมผลิตกระดาษยังไม่เจริญแพร่หลาย ผู้คนสมัยโบราณได้ใช้การเขียน บันทึกลงบนวัสดุต่าง ๆ เพื่อถ่ายทอดเรื่องราวสำคัญ ไม่ว่าจะเป็นจารึกบนแผ่นศิลา เปลือกไม้หรือภาชนะดินเผา แม้วัสดุดังกล่าวจะคงทนถาวร แต่ก็มีข้อจำกัดในเรื่องน้ำหนักของวัสดุ ขนาดเนื้อที่ และความยากในการจารจารึก...