20 อันดับสถานที่ที่ในชีวิตนี้ต้องมีโอกาสไปเห็นด้วยตาตนเอง
20 อันดับสถานที่ที่ในชีวิตนี้ต้องมีโอกาสไปเห็นด้วยตาตนเอง วารสาร บทความสั้น ชีเซ่ออิ่ง 柒摄影 ผู้เรียบเรียง ชิงเปิ่น (นามปากกา) วันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
เจดีย์ชเวดากอง
เจดีย์ชเวดากอง ประวัติเจดีย์ชเวดากอง พระมหาธาตุเจดีย์ชเวดากอง ชาวพม่าถือว่า แม้ว่าประเทศของตนจะตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษ แต่สิ่งที่ชาวพม่ายอมไม่ได้ คือ การถูกย่ำยีพระพุทธศาสนา เพราะนั่นหมายถึงการย่ำยีหัวใจของชาวพม่า เรียกได้ว่า เหตุการณ์ในครั้งนั้น เป็นเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ของการรักษาพระพุทธศาสนา ด้วยการเอาชีวิตเป็นเดิมพัน ในแผ่นดินพม่า
ผวจ.นครนายกเสนอโครงการท่องเที่ยวเชิงพระพุทธศาสนา
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครนายก เสนอโครงการท่องเที่ยวเชิงพระพุทธศาสนาเพื่อให้เศรษฐกิจดีขึ้น
วัดมเหยงคณ์
วัดมเหยงคณ์ เป็นที่เย็นกายเย็นใจของผู้ได้มาถึง เสมือนได้เข้าสู่มหานครโบราณ ที่สงบร่มเย็นทั้งด้วยบรรยากาศธรรมชาติและด้วยธรรมะปฏิบัติ
วัดโบสถ์
วัดโบสถ์ เป็นวัดริมแม่น้ำเจ้าพระยาตั้งอยู่ที่ตำบลบางกระบือ อ.สามโคก จ.ปทุมธานี ทางเข้าสู่วัดโบสถ์จะผ่านเส้นทางที่ 2 ฟากถนนยังเป็นเรือกสวนร่มรื่น กระทั่งเข้าสู่วัดซึ่งมีเนื้อที่ 30 ไร่เศษ
วัดป่างิ้ว
วัดป่างิ้ว ได้รวม วัดพญาเมือง ทางคลองด้านใต้และ วัดนางหยาด ทางคลองด้านเหนือเข้าด้วยกันเป็น วัดป่างิ้ว ตามชื่อท้องถิ่นบ้านงิ้วมีเนื้อที่ ๙๐ ไร่เศษ รูปแบบการก่อสร้างละม้ายไปตามความนิยมของท้องถิ่น ซึ่งเป็นชาวมอญเสียส่วนมาก
วัดเหนือ
วัดเหนือเป็นวัดเก่าแก่โบราณ ซึ่งตั้งอยู่ที่จังหวัดร้อยเอ็ด ได้รับการบูรณะปฏิสังขรณ์มาแล้ว สิ่งก่อสร้างและอาณาบริเวณที่เห็นถูกก่อสร้างไว้อย่างเป็นระเบียบแบบแผนงดงาม เป็นศูนย์รวมศรัทธาของชาวบ้านมาแต่โบราณกาล
วัดบึงพลาญชัย
วัดบึงพลาญชัยเป็นวัดพระอารามหลวงชั้นตรี ตั้งอยู่ที่ถนนประชาธรรมรักษ์ อำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด มีเนื้อที่ ๑๐ ไร่เศษ เป็นศูนย์อบรมศึกษาของพระธรรมกถึกภาคตะวันออกเฉียงเหนือทั้ง ๑๙ จังหวัด มีพระภิกษุและสามเณรจำพรรษาประมาณ ๑๓๐ รูป
วัดไกลกังวล
วัดไกลกังวล(เขาสารพัดดีศรีเจริญธรรม)เป็นวัดโบราณหลายร้อยปีมาแล้ว ก่อนสงครามโลกครั้งที่ ๒ กลายเป็นวัดร้างและได้รับการบูรณะใหม่ตั้งชื่อว่า"วัดไกลกังวล"
วัดใหม่ทองเสน
กลางกรุงเทพมหานครใกล้สี่แยกเกียกาย เขตดุสิต เป็นที่ตั้งของวัดใหม่ทองเสน วัดที่ตั้งขึ้นในสมัยต้นรัชกาลที่ ๓ ในปีพุทธศักราช ๒๓๖๕ ผู้สร้างวัดใหม่ทองเสนคือพระธรรมอุดม ท่านเป็นพระผู้ใหญ่ที่มีผู้คนนับถือมากและเป็นพระคู่เทศก์ปุจฉา วิสัจฉนากับเจ้าพระคุณสมเด็จพุฒาจารย์โต พรหมรังสี