สาเกตชาดก ชาดกว่าด้วยวางใจคนที่ชอบใจ
ครั้งเมื่อพระพุทธเจ้าประทับอยู่วัดอัญชนวัน เมืองสาเกต เช้าตรู่วันหนึ่ง พระพุทธองค์พร้อมหมู่ภิกษุสงฆ์ได้เข้าไปบิณฑบาตในเมืองสาเกต พบพราหมณ์ผู้หนึ่งเดินสวนไปนอกเมือง จู่ๆ พราหมณ์ผู้นั้นก็เข้ามาหมอบแทบเท้า จับข้อเท้าไว้แน่น “ ลูก ธรรมดาบุตรต้องปรนนิบัติบิดามารดาในยามแก่ชรามิใช่หรือ ทำไมลูกจึงไม่มาเยี่ยมเราเลย
ทศชาติชาดก เรื่อง พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี ตอนที่ 4
“โอ จริงๆ ด้วย เธอเป็นถึงพระอัครมเหสี นี่พระนางทรงพระครรภ์ด้วยหรือนี่ หม่อมฉันขอพระราชทานอภัยด้วย ที่แสดงอาการไม่สุภาพ” “ไม่เป็นไรหรอกจ้ะ” “แล้วพระเทวีจะไปที่ไหนต่อ พระเทวีทรงมีพระประยูรญาติอยู่ในเมืองนี้บ้างหรือไม่ละ” “ฉันไม่รู้จะไปทางไหนเหมือนกัน เพราะไม่รู้จักใครในเมืองนี้เลย”
เวสารัชชธรรม ๔
พระพิชิตมารผู้ถึงที่สุดโลก ทรงทำโลกทั้งหลายให้ยินดีด้วยพระรัศมี พระองค์ยังดอกปทุม คือ เวไนยสัตว์ให้บานด้วยพระดำรัส ทรงสมบูรณ์ด้วยเวสารัชชธรรม ๔ เป็นอุดมบุรุษ ละความกลัวและความยินดีได้เด็ดขาด ทรงถึงธรรมอันเกษม องอาจกล้าหาญ พระผู้เลิศในโลก ทรงปฏิญาณซึ่งฐานะของผู้องอาจและพุทธภูมิทั้งสิ้น ไม่มีใครจะทักท้วงได้ในฐานะไหนๆ
เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๙ )
โจรนำของไปอยู่ย่อมถูกห้าม แต่สมณะนำไปกลับเป็นที่รัก สมณะมาหาบ่อยๆ บัณฑิตย่อมยินดีต้อนรับ
ภูมิของพระสกทาคามี
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สมณะที่ ๒ เป็นไฉน ภิกษุในศาสนานี้เป็นสกิทาคามีเพราะสังโยชน์ ๓ สิ้นไป เพราะความที่ราคะ โทสะ และโมหะเบาบาง จะกลับมาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น ก็จะทำที่สุดแห่งทุกข์ได้ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้คือสมณะที่ ๒ ในพระศาสนา
ภูมิของพระอนาคามี
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็สมณะที่ ๓ เป็นไฉน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในศาสนานี้ มีความสิ้นไปแห่งสังโยชน์เบื้องต่ำ ๕ อย่าง เป็นโอปปาติกะ ปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับมาจากโลกนั้น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อริยบุคคลนี้คือ สมณะที่ ๓ ในพุทธศาสนา
เครื่องจองจำ
เครื่องจองจำใด เกืดแต่เหล็ก เกิดแต่ไม้และเกิดแต่หญ้าปล้อง ผู้มีปัญญาทั้งหลาย หากกล่าวเครื่องจองจำนั้นว่าเป็นของมั่งคงไม่
มหาบุรุษ อัครบุรุษแห่งโลก
บรรดาสัตว์ทั้งหลายในโลกนี้ ทั้งที่เป็นสัตว์ ๒ เท้า ๔ เท้า มีเท้ามาก เท้าน้อย หรือไม่มีเท้าก็ตาม เป็นเทวา พรหม อรูปพรหมก็ดี พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็นยอดแห่งสัตว์ทั้งปวงเหล่านั้น
อานิสงส์การอุปัฏฐาก
ผู้ใดมีศรัทธาตั้งมั่น มีความรักตน มีศรัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมบำรุงพระตถาคตหรือพระสาวก การบำรุงนี้ ย่อมเยี่ยมกว่าการบำรุงทั้งหลาย ย่อมเป็นไปเพื่อความบริสุทธิ์แห่งสัตว์ทั้งปวง เพื่อทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน
ทำความดี คือหน้าที่หลักของมนุษย์
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในกาลใดแล ภิกษุละกายทุจริต เจริญกายสุจริต ละวจีทุจริต เจริญวจีสุจริต ละมโนทุจริต เจริญมโนสุจริต ละมิจฉาทิฏฐิ เจริญสัมมาทิฏฐิได้แล้ว ในกาลนั้น เธอย่อมไม่กลัวต่อความตาย อันจะมีในภายหน้า