คัมภีร์ใบลานราษฎร์ ร่วมสืบศาสน์และชาติไทย
พระพุทธศาสนาเริ่มเข้ามาประดิษฐานในแผ่นดินสุวรรณภูมิเป็นครั้งแรก ราวปีพุทธศตวรรษที่ 3 เมื่อครั้งพระเจ้าอโศกมหาราชแห่งราชวงศ์เมารยะ มหาราชผู้ยิ่งใหญ่แห่งอินเดีย โปรดเกล้าฯ ให้พระโสณเถระและพระอุตตรเถระเดินทางจากแคว้นมคธมาเผยแผ่พระพุทธศาสนา ณ ดินแดนแถบนี้ ซึ่งช่วงเวลานั้นประเทศไทยเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรสุวรรณภูมิ ที่มีอาณาเขตกว้างขวาง และมีศูนย์กลางสำคัญอยู่ที่จังหวัดนครปฐ
เรียงความวันภาษาไทยแห่งชาติ
เรียงความวันภาษาไทยแห่งชาติ เพื่อรำลึกถึงคุณค่าของภาษาไทย ซึ่ง 29 กรกฎาคมของทุกปีเป็นวันภาษาไทยแห่งชาติ นี่เป็นตัวอย่างเรียงความวันภาษาไทยแห่งชาติสำหรับน้องๆ หนูๆ ค่ะ...
โภชาชานียชาดก-ชาดกว่าด้วยความเพียรอันยิ่งใหญ่
พุทธกาลครั้งนั้น ณ เชตวันมหาวิหารในนครสาวัตถี สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงมีพระเมตตาธิคุณต่อพระภิกษุรูปหนึ่งซึ่งกำลังเบื่อหน่ายคลายความเพียรลง ทรงอนุเคราะห์ด้วยพุทธวาจาว่า “ดูก่อนภิกษุ บัณฑิตในกาลก่อนนั้นได้ทำความเพียรที่ไม่น่าจะทำได้ แม้ได้รับบาดเจ็บสาหัสเพียงใด ก็มิได้ละความเพียร” แล้วพระพุทธองค์ก็ทรงระลึกชาติด้วย บุพเพนิวาสนุสติญาณด้วยชาดกขึ้นเรื่องหนึ่ง โภชาชานียชาดก ความเพียรอันยิ่งใหญ่
นักโบราณคดีขุดพบรูปปั้นคลีโอพัตราระหว่างเดินหน้าค้นหาสุสานในอียิปต์
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 23
มโหสถใช้เวลาครุ่นคิดเพียงชั่วครู่เท่านั้น ก็สามารถที่จะเฉลยคำตอบในทันทีว่า “เรื่องนี้ไม่ยากดอก อย่าเดือดเนื้อร้อนใจไปเลย เพราะอันที่จริง โคมงคลที่พระราชาตรัสถามถึง ทรงหมายเอาไก่สีขาวปลอดนั่นเอง เพราะตามธรรมดา ไก่ย่อมมีเขาที่เท้าคือเดือย มีโหนกที่ศีรษะคือหงอน และขันวันละ ๓ เวลาเป็นปกติ ฉะนั้น ท่านจงทำตามคำของเราก็แล้วกัน”