พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 9 การสร้างมหาทานบารมีของสุรุจิพราหมณ์ (3)
เมื่อพระมังคลสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเห็นเหตุการณ์ในอนาคตแล้ว พระพุทธองค์จึงทรงประทานพุทธพยากรณ์แก่สุรุจิพราหมณ์ ในกาลนั้นเอง
กว่าจะมาเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ก่อนได้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระโพธิสัตว์ต้องสละชีวิตและอวัยวะมานับภพนับชาติไม่ถ้วน หากเปรียบศีรษะที่ทรงสละไป ก็มากกว่าผลมะพร้าวในชมพูทวีป ดวงตาที่สละไปมากกว่าดวงดาวบนฟากฟ้า เลือดที่สะละไปมากกว่าน้ำในมหาสมุทร เนื้อที่สละไปมากมายกว่าพื้นดิน
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฏฐิ ( ๒ )
วันนี้จะนำเรื่องของผู้ที่ปฏิบัติสวนทางกับพระนิพพาน มาเล่าสู่กันฟัง เป็นเรื่องของผู้ที่ในใจลึกๆ นั้น มีความปรารถนาอยากบรรลุมรรคผลนิพพาน แต่ด้วยวินิจฉัยยังไม่สมบูรณ์ จึงเข้าใจว่าตนเป็นพระอรหันต์ แม้กระนั้นก็ตาม ดวยความเป็นยอดกัลยาณมิตรของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทำให้ท่านกลับใจ
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฏฐิ ( ๑ )
สัมมาทิฏฐิเบื้องต้นทั้ง ๑๐ ประการนี้ เปรียบเสมือนลู่ที่ให้เราวิ่งไปตามทาง เหมือนแสงทองส่องนำชีวิตให้ก้าวไปสู่ความสุขความสำเร็จ จึงต้องตอกย้ำบ่อยๆ เพื่อเป็นการทบทวนด้วยว่า เรามีสัมมาทิฏฐิครบถ้วนบริบูรณ์แล้วหรือยัง
ชัยชนะครั้งที่ ๕ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอน ชนะการถูกกล่าวหาจากนางจิญจมาณวิกา)
พุทธานุภาพ ธรรมานุภาพ สังฆานุภาพ เป็นอานุภาพที่ไม่มีประมาณ เพราะเป็นอจินไตยอยู่เหนือวิสัยของผู้ที่ใจยังไม่หยุด จะเข้าใจได้ด้วยการนึกคิดด้นเดา
ชัยชนะครั้งที่ ๔ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอน ชนะองคุลิมาล)
เวลาแห่งการปฏิบัติธรรม เป็นเวลาที่มีคุณค่ามหาศาล เพราะเราจะได้ทำใจหยุดใจนิ่ง แสวงหาอริยมรรค ซึ่งเป็นเส้นทางของพระอริยเจ้าทั้งหลาย เป็นทาง
ชัยชนะครั้งที่ ๓ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอน ชนะช้างนาฬาคีรี)
การจะหลุดพ้นจากกิเลสอาสวะ จะต้องลงมือปฏิบัติธรรมเท่านั้น จะสวดมนต์อ้อนวอนอย่างไร ย่อมไม่อาจบรรลุธรรมได้ แม้จะมีความ
ชัยชนะครั้งที่ ๒ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า(ตอน ชนะอาฬวกยักษ์)
อายตนนิพพานเป็นธรรมที่ละเอียดลึกซึ้ง ต้องเป็นผู้ที่มีใจหยุดนิ่งอย่างสมบูรณ์แล้วเท่านั้น จึงจะเข้าใจได้แจ่มแจ้ง ปัจจุบันแม้หลายท่านจะมีความเห็น
ชนะครั้งที่ ๑ ของพระสัมมาสัมพุชัยทธเจ้า (ตอนที่ ๒ ชนะพญามาร)
โอกาสที่หาได้ยากที่สุดในการสร้างบารมีของสรรพสัตว์ทั้งหลาย คือ โอกาสที่ได้อัตภาพเป็นมนุษย์ แม้หมู่สัตว์เหล่าอื่นอีกเป็นจำนวนมาก ล้วน
ชัยชนะครั้งที่ ๑ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๑ ชนะพญามาร)
เปรียบ..เสมือนดวงสุริยาที่ทอแสงให้ความสว่างในชีวิตแก่สรรพสัตว์ทั้งปวงโดยไม่เลือกที่รักผลักที่ชัง พระพุทธองค์เสด็จมาเพื่อประโยชน์สุขของมวล