เทพบุตรมาร (๒)
รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น สัมผัสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยกาย ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ อันน่ารักน่าปรารถนาน่าใคร่ น่าพอใจ อาศัยความใคร่ ชวนให้กำหนัดมีอยู่ หากภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่สรรเสริญ ไม่หมกมุ่น ไม่พัวพันอยู่ในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสและธรรมารมณ์ ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ไม่ไปสู่ที่อยู่ของมาร ไม่ตกอยู่ในอำนาจของมาร ไม่ถูกมารครอบงำ เป็นผู้พ้นจากบ่วงมาร ภิกษุนั้น มารผู้มีบาปพึงใช้บ่วง ทำตามความปรารถนาไม่ได้
เปิดรับสมัครแล้วโครงการ Social change fan page ปีที่ 2
อยากมีประสบการณ์ใหม่ๆในการทำกิจกรรม และอยากจะสร้างสรรค์สังคมให้ดี ผ่านการใช้สื่อ Social สมัครเข้าร่วมโครงการได้แล้ว ตั้งแต่วันนี้ ถึงวันที่ 23 พฤศจิกายน 2560
ชื่อMascot
ชื่อ Mascot วันรวมพลังเด็กดี V-Star ผู้นำฟื้นฟูศีลธรรมโลก ครั้งที่ 5 ฝ่ายชาย...ชื่อว่า ฉัตรมงคล และฝ่ายหญิง...ชื่อว่า มณีดารา
จิตแพทย์ชี้ภาพ เสียง เหตุรุนแรงทำเด็กซึมซับ เลียนแบบ แนะวิธีทำความเข้าใจให้"ลูก" เวลาดูข่าวการเมือง
เผยปฏิทินหลวงนางสงกรานต์ปี 54 ชื่อ กิริณีเทวี
จากคำทำนายค่อนข้างออกไปร้ายมากกว่าดี แต่นางสงกรานต์กิริณีเทวีนั่งมาบนหลังช้าง ซึ่งถือเป็นสัตว์ใหญ่ที่เป็นมงคลจะช่วยขับไล่สิ่งร้ายๆ ให้ออกไป และยังทัดดอกมณฑาเป็นดอกไม้ทิพย์อยู่บนสวรรค์
กวช.สั่งปรับคู่มือ"ใช้สัญลักษณ์พุทธ" เผย"สถานที่-ผลิตภัณฑ์-สื่อ"ห้ามใช้
สะเก็ดข่าวสั้นทันปรโลก ตอนที่ 3
ภายหลังจากที่กองทัพของแคว้นของพระราชาองค์ที่ออกบวชได้รับทราบข้อมูลและสถานที่ตั้งของแหล่งเสบียงขนาดใหญ่ของทหารฝ่ายข้าศึกซึ่งแอบซ่อนและตั้งอยู่กลางหุบเขาแห่งหนึ่งในละแวกนั้นแล้ว ทางกองทัพของพระราชาองค์ที่ออกบวชก็ไม่รอช้าได้จัดการวางแผนเข้าจู่โจมและทำลายคลังเสบียงของข้าศึกแห่งนี้ในทันที
“ทีไอทีวี” เป็น “ทีวีสาธารณะ” โละทิ้งพนักงานทั้งหมด
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - จุดมุ่งหมายสูงสุดของชีวิต
ด้วยจิตที่จะอนุเคราะห์พระราชา พระปัจเจกพุทธเจ้าจึงถวายพระพรว่า "ธรรมดานักโทษย่อมไม่ยินดีในเรือนจำ มีแต่ดิ้นรนแสวงหาหนทางออกจากเรือนจำนั้นอย่างเดียว ขอพระองค์จงเป็นเช่นนั้นเถิด จงเห็นภพทั้งหมดเหมือนเรือนจำเถิด โลกนี้ถูกความมืด คือ อวิชชา ห่อหุ้มไว้ ตราบใดที่สัตวโลกยังไม่ได้รับแสงสว่างจากพระสัทธรรม เปรียบเสมือนตกอยู่ในคุกมืด..."
มฤตยูฉุดคร่าคนผู้มัวเก็บดอกไม้ (กามคุณ)
กามคุณ ในพระพุทธศาสนาหมายถึง สิ่งที่น่าปรารถนา ชวนให้รักชักให้ใคร่ พาใจให้กำหนัดยินดี มี 5 ชนิด คือ รูป (สิ่งที่ตามองเห็น) เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ (สิ่งที่กายสัมผัส) กามคุณ 5 นี้เป็นอารมณ์ คือสิ่งที่ยึดดึงใจให้ปรารถนา ให้รักใคร่ เป็นต้น จึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "กามารมณ์" แปลว่า อารมณ์คือกามคุณ