ข่าวลือ
เมื่ออยู่ในยุคที่ข่าวลือแพร่สะพัดอย่างเร็ว เราจะจัดการกับมันอย่างไร
สมิทธิชาดก ชาดกว่าด้วยการไม่รู้เวลาตาย
ท่านภิกษุท่านยังเด็กเยาว์วัยหนุ่มแน่น มีผมดำ ประกอบด้วยความหนุ่ม ทั้งยังเจริญ มีรูปงามน่าดู น่าเลื่อมใส ท่านเป็นเช่นนี้ ไม่บริโภคกาม ประโยชน์อะไรด้วยการบรรพชา จงบริโคกามเสียก่อนเถิด ภายหลังจึงค่อยบวชบำเพ็ญสมณะธรรม ” “ แน่ะ เทพธิดา เราไม่รู้ความตายของเราว่า เราจักตายเมื่ออยู่ในวันโน้น เรากำหนดเวลาไม่ได้ เพราะฉะนั้น เราจักบำเพ็ญสมณะธรรม ในตอนยังเป็นหนุ่ม แล้วจักทำที่สุดแห่งทุกข์ ” “ ถ้าอย่างนั้น ก็แล้วแต่ท่านเถิด ข้าขอลาก่อน ”
ฉวชาดก ชาดกว่าด้วยการนั่งที่ไม่สมควร
ครั้งหนึ่งพวกภิกษุฉัพพัคคีย์นั้นได้รับกิจนิมนต์จากชาวบ้าน ครั้นเมื่อไปถึงเรือนของผู้นิมนต์แล้วก็นั่งอยู่ในที่ต่ำแสดงธรรมแก่ฆราวาสซึ่งนั่งอยู่ในที่สูงกว่า ด้วยเห็นว่าพวกตนได้รับการดูแลอย่างดีจากเจ้าของบ้าน ภิกษุรูปหนึ่งเห็นพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมนั้น จึงนำความไปกราบทูลพระพุทธองค์ทรงทราบ
เรื่องของความรัก
คำถาม : ความรักเป็นเรื่องของความบริสุทธิ์หรือเป็นเรื่องกิเลส
ปัญจภีรุกชาดก ชาดกว่าด้วยความสวัสดี
ในสมัยพุทธกาลเมื่อครั้งที่พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภพระสูตรว่าด้วยการประเล้าประโลมของมารธิดา ณ อัชปาลนิโคตธ
ทุราชานชาดก ชาดกว่าด้วยภาวะของหญิงรู้ได้ยาก
มหานครสาวัตถี นครหลวงของแคว้นในสมัยที่พระพุทธศาสนากำลังเจริญรุ่งเรืองบนแผ่นดินชมพูทวีปนั้น มหาชนผู้เลื่อมใสในคำสอนแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าต่างหลั่งไหลกันมาทั้งไกลใกล้มิได้เว้นว่างยังนำเครื่องไทยธรรมอันประณีตถวายพระพุทธองค์และภิกษุสงฆ์
ชาวโคราชร่วมสวดมนต์บ้านศีล 5 เจริญจิตตภาวนา
คณะกัลยาณมิตรผู้มีบุญชาวโคราช ได้รวมใจกันสวดมนต์ ปฏิบัติธรรม ในกิจกรรม สวดมนต์บ้านศีล 5 เจริญจิตตภาวนา
นกน้อยผู้มีจิตเลื่อมใส
“เอวํ อจินฺติยา พุทฺธา พุทฺธธมฺมา อจินฺติยา อจินฺติเยสุ ปสนฺนานํ วิปาโก โหตฺยจินฺติโย พระพุทธเจ้าเป็นอจินไตย พระธรรมของพระพุทธเจ้าก็เป็นอจินไตย วิบากของเหล่าชนผู้เลื่อมใสในพระพุทธเจ้าและพระคุณของพระองค์ก็เป็นอจินไตยเช่นกัน” (ขุททกนิกาย อปทาน)
สาธุศีลชาดก ชาดกว่าด้วยตำราเลือกลูกเขย
เมื่อครั้งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสวยพระชาติเกิดเป็นอาจารย์ทิศาปาโมกข์ในเมืองตักศิลา ได้มีพราหมณ์เฒ่าผู้หนึ่ง มีลูกสาวที่งามพร้อมทั้งกาย วาจาและใจจนเป็นที่หมายปองของหนุ่มน้อยหนุ่มใหญ่สี่คนด้วยกัน
มหาโมรชาดก ชาดกว่าด้วยพญานกยูงพ้นจากบ่วง
ครั้นเมื่อพระพุทธศาสนาได้แผ่ขยายออกไปกว้างใหญ่ไพศาล ประชาชนล้วนหลั่งไหลให้พระธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวชีวิต บ้างก็ใช้เป็นเครื่องยึดเหนี่ยว จิตใจให้ทำดี ครั้งนั้นได้มีหนุ่มรูปงามที่ตั้งใจจะละจากกิเลสทั้งปวง ออกบวชมุ่งปฏิบัติธรรม เพื่อตรัสรู้แจ้งแห่งธรรม การงานใดที่เป็นกิจของสงฆ์ ภิกษุหนุ่มนี้ ปฏิบัติได้ดีไม่มีขาด ว่างจากกิจก็นั่งสมาธิตั้งอานาปานสติ