มงคลที่ ๙ มีวินัย - ศีล เส้นทางสู่ความเป็นมนุษย์
ศีล เป็นคุณธรรมที่จะคุ้มครองรักษากาย วาจา ใจ ของเราให้เรียบร้อยสมบูรณ์ เป็นคุณธรรมเบื้องต้นที่จะส่งให้เราเข้าถึงสมาธิ ปัญญา ซึ่งเป็นหนทางแห่งการบรรลุมรรคผลนิพพาน การรักษาศีลมีจุดประสงค์หลายประการด้วยกัน อย่างน้อยก็เป็นเกราะคุ้มกันชีวิตของเราในปัจจุบันชาตินี้ ไม่ให้พบกับความทุกข์ ความเดือดร้อน และความเสื่อมเสียอันสืบเนื่องจากการเบียดเบียนผู้อื่น
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - ควรคุ้มครองอินทรีย์
วันหนึ่งท่าน ละเลยการคุ้มครองอินทรีย์ ได้ยืนมองดูมหาชน และเหลือบไปเห็นนางวรรณทาสีคนหนึ่งที่มีรูปร่างงดงาม จึงมีจิตปฏิพัทธ์ เมื่อเกิดความกำหนัดยินดี ฌานก็เสื่อม กินไม่ได้นอนไม่หลับ ทนทุกข์ทรมานอยู่ถึง ๗ วัน
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 180
ดอกทองกวาวถูกแสงจันทร์ในยามราตรีสาดส่อง จึงแลเห็นเหมือนชิ้นเนื้อสด ฝูงสุนัขจิ้งจอกเห็นดอกทองกวาวนั้นบานสะพรั่งอยู่ในยามราตรี ต่างก็พากันสำคัญว่าเป็นชิ้นเนื้อสด จึงพากันวิ่งกรูกันเข้าล้อมต้นไว้ตลอดทั้งคืน โดยหวังจะได้กินชิ้นเนื้อในวันรุ่งขึ้น
มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - ตบะธรรมชนะกิเลส
ท้าวสักกะทรงดำริว่า “ดาบสนี้มีอานุภาพมากจะทำให้เราเคลื่อนจากความเป็นท้าวสักกะ เราจะต้องร่วมมือกับพระเจ้าพาราณสี ทำลายตบะของดาบสนั้นให้ได้” ครั้นเวลาเที่ยงคืน จึงเสด็จไปยังห้องบรรทมของพระเจ้าพาราณสี แสดงอานุภาพของท้าวสักกะ พลางตรัสกับพระราชาว่า
กล้าดี...นักรบกล้าพันธุ์ตะวัน
เมื่อใดที่ใจเกิดวิตกหวั่นไหว ให้ถอยกลับไปจุดเริ่มต้นเพื่อฟังเสียงจากภายในกลางกาย แล้วใช้โยนิโสมนสิการเป็นหลักในการตัดสินใจ บวกกับความเชื่อมั่นในความดีที่จะทำนี้ เรียกว่ามีความกล้าดี
ความวิเศษสุดของพระพุทธศาสนา
ภิกษุผู้ตั้งอยู่ในศีล สำรวมในอินทรีย์ทั้งหลาย รู้จักประมาณในโภชนะ หมั่นประกอบความเพียร ภิกษุผู้มีปกติพากเพียรอยู่อย่างนี้ ไม่เห็นแก่นอน ไม่เกียจคร้านทั้งกลางวันและกลางคืน เจริญกุศลธรรมเพื่อบรรลุคุณอันเกษมจากโยคะ ผู้ยินดีในความไม่ประมาท มีปกติเห็นภัยในความประมาท เป็นผู้ไม่ควรเพื่อความเสื่อม ย่อมเป็นผู้ปฏิบัติใกล้พระนิพพานทีเดียว
พระพุทธคุณ ตอน สมบูรณ์ด้วยวิชชาและจรณะ
พระองค์ทรงเป็นที่พึ่งของผู้ไร้ที่พึ่ง ทรงประทานความไม่มีภัยแก่เหล่าชนผู้มีความกลัว ทรงเป็นที่คุ้นเคยของผู้มีภูมิธรรมสงบ ทรงเป็นที่พึ่งที่ระลึกของผู้แสวงหาที่พึ่งที่ระลึก
คิดผิดคิดใหม่ได้ (๓)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย กาล ๔ อย่างที่บุคคลบำเพ็ญโดยชอบ ให้เป็นไปโดยชอบ ย่อมให้ถึงความสิ้นอาสวะโดยลำดับ กาล ๔ นี้คือ การฟังธรรมตามกาล การสนทนาตามกาล การสงบตามกาล และการพิจารณาตามกาล กาล ๔ อย่างนี้ อันบุคคลบำเพ็ญโดยชอบ ให้เป็นไปโดยชอบ ย่อมให้ถึงความสิ้นอาสวะโดยลำดับ
พระนันทกเถระ (๑)
ความเคลือบแคลงสงสัยของหมู่ชน ย่อมไม่มีในวันอุโบสถขึ้น ๑๕ ค่ำ ว่าพระจันทร์จะพร่องหรือเต็มก็ตาม แต่พระจันทร์ก็คงเต็มดวง ฉันใด ภิกษุณีเหล่านั้น มีความชื่นชมยินดีต่อการแสดงธรรมของพระนันทกะ และมีความดำริบริบูรณ์แล้ว ก็ฉันนั้น
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 181
พระเจ้าจุลนี ทรงระลึกถึงเสียงคร่ำครวญที่แว่วมา คล้ายเสียงพระนางนันทาเทวี เมื่อยามดึกของคืนที่ผ่านมา กอปรกับทรงพิจารณาจากคำยืนยันหนักแน่นของมโหสถ จึงทรงปักใจเชื่อว่า “ที่มโหสถพูดมานั้น น่ากลัวจะเป็นความจริงเสียแล้ว”