มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - อรกศาสดา
ในยุคสมัยที่มนุษย์มีอายุเฉลี่ย ๖๐,๐๐๐ ปี มีเจ้าลัทธิ ผู้เรืองปัญญาท่านหนึ่ง ชื่อ อรกะ เป็นเจ้าลัทธิผู้ปราศจากความกำหนัดยินดีในกาม อร กศาสดามีสาวกหลายร้อยคน ท่านสอนสาวกเสมอว่า ดูก่อนพราหมณ์ ชีวิตของมนุษย์ทั้งหลาย มีทุกข์มาก มีความคับแค้นมาก ควรรีบทำบุญกุศล ควรประพฤติพรหมจรรย์ เพราะสัตว์ที่เกิดมาแล้ว จะไม่ตายนั้นย่อมไม่มี
การตาย 4 ประเภท เหตุให้เกิดความตาย 4 ประการ
เหตุให้ความตายเกิดมี 4 ประการ การตายมีด้วยกัน 4 ประเภท สิ้นอายุ สิ้นกรรม สิ้นทั้งสอง กรรมตัดรอน ตายแล้วไปไหนจะรู้ได้อย่างไร เลือกได้อย่างไร
เส้นทางจอมปราชญ์ (๗)
โลกถูกมัจจุแผดเผา และถูกชรารุมล้อม ไม่มีสิ่งใดต้านทานได้ ย่อมเดือดร้อนอยู่เป็นนิตย์ เหมือนคนกระทำความผิดได้รับอาชญาเดือดร้อนอยู่ฉะนั้น
รูปนันทาเถรี
สรีระอันกรรมทำให้เป็นนครแห่งกระดูกทั้งหลาย ฉาบด้วยเนื้อและโลหิต เป็นที่ตั้งลงแห่งชรา มรณะ มานะ และการลบหลู่คุณท่าน
ธรรมกาย กายมาตรฐาน
สรีรยนต์นี้ ถูกกรรมปรุงแต่งทำให้เป็นนครแห่งกระดูกทั้งหลาย ฉาบด้วยเนื้อและโลหิต เป็นที่ตั้งลงแห่งชรา มรณะ มานะ และมักขะ
คาถาหัวใจเศรษฐี-หลวงพ่อตอบปัญหา
คนที่ท่องหัวใจเศรษฐีคือ “อุ อา กะ สะ” เพราะเชื่อว่าจะทำให้รวยได้ คาถานี้จะช่วยคนเราเป็นเศรษฐีได้จริงหรือไม่,ถ้าเราอยากเป็นเศรษฐีข้ามภพข้ามชาติ จะต้องปฏิบัติตามหลักธรรมข้อใดบ้าง,มีหลักธรรมข้อใดบ้าง ที่จะทำให้ครอบครัวและวงศ์ตระกูลตั้งอยู่ได้อย่างมั่นคง
ชัยชนะครั้งที่ 8 (ตอนที่ 1 ชนะพกพรหม)
พระชินสีห์ผู้เป็นจอมมุนีได้ชนะพกาพรหมผู้มีฤทธิ์ สำคัญตนว่าเป็นผู้รุ่งเรือง ด้วยคุณอันบริสุทธิ์ มีอสรพิษคือทิฏฐิที่ตนถือผิดรัดรึงไว้ ด้วยเทศนาญาณวิธี ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น ขอชัยมงคลทั้งหลายจงบังเกิดมีแก่ท่าน
ความตายคืออะไร ประเภทของความตาย เหตุเกิดขึ้นของความตาย
ความตายเป็นเพียงจุดสิ้นสุดของชีวิตในภพภูมิหนึ่งๆ เท่านั้น และความตายนี้ย่อมเป็นสิ่งที่น่ากลัวและไม่น่าปรารถนาของสรรพสัตว์ แต่ไม่ว่าเราจะปรารถนาหรือไม่ก็ตามเราทุกคนล้วนแต่ต้องตาย แต่ตายแล้วจะไปไหน
ชัยชนะครั้งที่ ๘ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า(ตอนที่ ๑ ชนะพกาพรหม)
นักสร้างบารมีต้องมีใจจรดจ่ออยู่กับการสร้างบารมี ไม่ใช่ส่งใจไปในเรื่องอื่นที่ไม่เป็นสาระ อันเป็นเหตุให้อาสวกิเลสเข้ามาอยู่ในใจ ต้องคิดตลอดเวลาว่า ทำอย่างไรบารมีของเราจึงจะเต็มเปี่ยมบริบูรณ์
การสร้างนิสัยดีตามพุทธวิธี
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงนำเอาเรื่องที่เราทุกชีวิตต้องคิด พูด และทำ ในชีวิตประจำวันมาเป็นบทฝึกนิสัย ด้วยการสั่งสอนให้เป็นผู้รู้จักมีสติเตือนตนอยู่เสมอ