แข่งบุญแข่งบารมี
มีภาษิตกล่าวว่า “แข่งเรือแข่งพาย พอแข่งได้ แต่แข่งบุญแข่งบารมี แข่งกันไม่ได้” เป็นความหมาย ให้อ่อนน้อมถ่อมตน มิให้ตีตนเสมอผู้หลักผู้ใหญ่
ปัญจาวุธกุมาร-ชาดกว่าด้วยการทำความเพียร
ขณะเมื่อพระพุทธศาสดาประทับในมหาวิหารทรงแจ้งในพระญาณว่า ยังมีภิกษุเกียจคร้านอาศัยครองเพศสมณะไปวัน ๆ ทรงตักเตือนด้วยพุทธโอวาทว่า “ดูก่อนภิกษุ แม้ในกาลก่อนบัณฑิตทั้งหลายกระทำความเพียร ในที่ที่ควรประกอบความเพียร ก็ยังบรรลุถึงราชสมบัติได้” ทรงระลึกชาติของพระองค์ด้วยชาดกเรื่องหนึ่งส่งเสริมพุทธโอวาทเกี่ยวกับความเพียรนั้น
ชัยชนะครั้งที่ ๑ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๑ ชนะพญามาร)
เปรียบ..เสมือนดวงสุริยาที่ทอแสงให้ความสว่างในชีวิตแก่สรรพสัตว์ทั้งปวงโดยไม่เลือกที่รักผลักที่ชัง พระพุทธองค์เสด็จมาเพื่อประโยชน์สุขของมวล
ชัยชนะครั้งที่ 4 (ตอน ชนะองคุลิมาล)
พระผู้มีพระภาคเจ้าจอมมุนี ทรงใช้ฤทธิ์ทางใจ ให้เป็นอิทธาภิสังขาร ทรงชนะองคุลิมาล ผู้แสนโหดเหี้ยมร้ายกาจ มีฝีมือฉกรรจ์ ถือดาบวิ่งไล่พระองค์ สิ้นทาง ๓ โยชน์ ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ท่าน
นักแสดงเข้าใจถึงพระนิพพานได้จากการแสดงเป็น “พระพุทธเจ้า”
มงคลที่ ๒๗ มีความอดทน - ขันติธรรมชำนะกิเลส
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อานิสงส์ของความอดทน ๕ประการ คือ ผู้อดทนย่อมเป็นที่รัก เป็นที่ชอบใจของคนเป็นอันมาก เป็นผู้ไม่มากด้วยเวร เป็นผู้ไม่มากด้วยโทษ เป็นผู้ไม่หลงกระทำกาละ และเมื่อตายไป ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อานิสงส์ของความอดทนมี ๕ประการอย่างนี้แล
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 1
วันนี้เรามาศึกษาประวัติการสร้างบารมีในพระชาติที่ สำคัญอีกชาติหนึ่ง ที่พระองค์ทรงมีปัญญาเฉียบแหลมและลึกซึ้ง แม้ครั้งพระองค์ยังเป็นเด็กน้อยอยู่แต่ก็มีปัญญาไม่ด้อยไปกว่ามหาบัณฑิตของ พระราชาทั้ง ๔ ท่าน ซึ่งถือว่ามีปัญญาสูงสุดของพระนคร