มงคลที่ ๓๕ จิตไม่หวั่นไหวในโลกธรรม - ผู้มีจิตมั่นคง
ครั้นเวลาเช้า พระภิกษุสงฆ์มีพระเถระทั้งสองเป็นประมุข ได้ออกบิณฑบาตไปตามถนน แล้วมาพักฉันภัตตาหารที่บ้านของนางนันทมารดาซึ่งได้จัดเตรียมไว้เป็นอย่างดี เมื่ออังคาสภิกษุสงฆ์ให้อิ่มหนำสำราญแล้ว นางก็เข้าไปนั่งสนทนา เล่าเรื่องที่ได้สนทนากับท้าวเวสสวัณเมื่อรุ่งอรุณให้พระเถระทั้งสองฟัง
นรก-สวรรค์
บุคคลบางคนในโลกนี้ ประพฤติทุจริตด้วยกาย... ด้วยวาจา ... ด้วยใจ บุคคลนั้นครั้นประพฤติทุจริตด้วยกาย... ด้วยวาจา... ด้วยใจแล้ว เพราะกายแตก ตายไปย่อมเข้าถึงอุบาย ทุคติ วินิบาต นรก นิรยบาลทั้งหลาย ต่างก็จับบุคคลนั้นที่แขนไปแสดงแก่พญายมว่า
สวรรค์ชั้นดุสิตหรือดุสิตบุรี ดีอย่างไร?
ทำไมถึงพลาดสิ่งที่อยากได้
ภิกษุทั้งหลาย ผู้ไม่ได้รับการศึกษา ไม่เห็นอริยเจ้า ไม่ฉลาดต่อคุณธรรมของพระอริยเจ้า เมื่อเขาไม่รู้จักสิ่งที่ควรเสพ,ไม่ควรเสพ,ควรคบ,ไม่ควรคบ,เพราะเหตุ เขาไม่รู้ตามที่เป็นจริงเช่นนั้น
เวสสันดรชาดก ตอนที่ ๑๒ ( กัณหาชาลีถูกทรมาน )
พระโพธิสัตว์ทุกพระองค์ไม่ทรงบริจาคมหาบริจาค ๕ ประการ คือ บริจาคทรัพย์ บริจาคอวัยวะ บริจาคชีวิต บริจาคบุตร บริจาคภรรยา หาเป็นพระพุทธเจ้าได้ไม่ ก็ตัวเราก็เข้าอยู่ในจำพวกพระโพธิสัตว์เหล่านั้น แม้เราไม่บริจาคบุตร และชายา ก็ไม่อาจจะเป็นพระพุทธเจ้าได้เช่นกัน
ความประเสริฐของพระโสดาบัน
โสดาปัตติผล ประเสริฐกว่าความเป็นเอกราชในแผ่นดิน ประเสริฐกว่าการไปสู่สวรรค์ และความเป็นใหญ่ในโลกทั้งปวง
วิบากกรรมจะเบาบางลงได้อย่างไร
ชีวิตที่ท่องเที่ยวไปในวัฎสงสาร ไม่มีใครที่ไม่เคยทำบาปอกุศล แม้พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ครั้งเป็นพระบรมโพธิสัตว์ ก็ผิดพลาดทำบาปอกุศล ต้องพลัดไปในอบายภูมิ ไปเกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน มีปรากฎในชาดกหลายพระชาติ
แม่บทแห่งธรรม ธัมมจักกัปปวัตนสูตร
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร หรือที่เขียนตามพจนานุกรมว่า ธัมมจักกัปปวัตนสูตร มีความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะเป็นพระสูตรที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประกาศพระสัมมาสัมโพธิญาณและเป็นพระสูตรที่เป็นแหล่งรวมของหลักธรรมสำคัญ ๆ ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงเป็นครั้งแรกแก่ปัญจวัคคีย์ พระสูตรนี้จึงได้สมญาว่า “ปฐมเทศนา”...
มงคลที่ ๕ มีบุญวาสนามาก่อน - บุญคือฉากหลังของทุกชีวิต
เรื่องราวของพระอุบาลีเถระ เป็นพระเถระผู้มีชื่อเสียงมากในสมัยพุทธกาล ตัวของท่านได้รับแต่งตั้งจากพระบรมศาสดาให้เป็นผู้ที่เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายในด้านทรงจำพระวินัย มาติดตามกันเลยว่าท่านได้กระทำเหตุไว้อย่างไรจึงได้เป็นผู้ที่เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายในด้านทรงจำพระวินัย
มงคลที่ ๒๗ มีความอดทน - ขันติธรรมชำนะกิเลส
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อานิสงส์ของความอดทน ๕ประการ คือ ผู้อดทนย่อมเป็นที่รัก เป็นที่ชอบใจของคนเป็นอันมาก เป็นผู้ไม่มากด้วยเวร เป็นผู้ไม่มากด้วยโทษ เป็นผู้ไม่หลงกระทำกาละ และเมื่อตายไป ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อานิสงส์ของความอดทนมี ๕ประการอย่างนี้แล