มงคลที่ ๒๗ มีความอดทน - ขันติและเมตตาพาสู่ดุสิตบุรี
พระราชาเห็นพระนางแสดงความรักต่อพระกุมารมากถึงเพียงนั้น ก็ยิ่งอิจฉา และโกรธเคืองยิ่งขึ้น จึงตรัสว่า “ท่านอย่าชักช้า จงตัดมือตัดเท้าทั้งสองเสีย” เพชฌฆาตก็สับมือตัดเท้าทั้งสองของพระกุมารด้วยขวานอันคมกริบ ธรรมบาลกุมารแม้จะถูกตัดมือตัดเท้าก็ไม่ร้องไห้ ทรงอดกลั้นต่อทุกขเวทนา ด้วยขันติธรรมและเมตตาธรรม
I Brought You Carrots
Why were twin sister born as twins? Why did their parents have to give them to others to raise? Why did they have to be separated at a young age? DMC has the answers...
เอาแครอทมาฝาก
ตอนที่เธอเกิดมา คนในครอบครัวต่างเข้าใจว่า เธอคือคุณป้า (พี่สาวของคุณพ่อ) ที่ตายไปแล้วมาเกิด คุณปู่กับคุณย่าจึงรักเธอเหมือนลูกของท่านเอง เธอมีพี่สาวบุญธรรมคนหนึ่ง ซึ่งคุณปู่คุณย่า รับมาเลี้ยงด้วยความสงสาร ทั้งๆที่เธอมีชีวิตเพียบพร้อมกว่า แต่เธอก็อดที่จะรู้สึกอิจฉาพี่สาวบุญธรรมคนนี้ไม่ได้...ทุกเรื่องราวล้วนมีเหตุทั้งสิ้น เธอคือคุณป้ามาเกิดใหม่หรือไม่ ทำไมเธอจึงรู้สึกไม่ดีดังกล่าวกับพี่สาวบุญธรรม...ที่นี่...มีคำตอบ
For jealous people what is their downside and how can this be rectified?
พิธีมุทิตาสักการะพระภิกษุ-สามเณร ผู้สอบไล่ได้เปรียญธรรมและบาลีศึกษา ประจําปีพุทธศักราช 2567
ขอเชิญร่วมพิธีมุทิตาสักการะพระภิกษุ-สามเณร ผู้สอบไล่ได้เปรียญธรรมและบาลีศึกษา วันอาทิตย์ที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2567 ณ สภาธรรมกายสากล วัดพระธรรมกาย
มุทิตาจิต กับ อนุโมทนา ต่างกันอย่างไร
บทความนี้อธิบายความแตกต่างระหว่างมุทิตาจิตและอนุโมทนา ทั้งในด้านความหมาย การแสดงออก และอานิสงส์ของการมุทิตาและอนุโมทนา การมีจิตยินดีในความดีของผู้อื่นเป็นคุณธรรมที่ควรส่งเสริมในสังคม
พิธีมุทิตาสักการะพระมหาเถระและพระเถระ ประจําปีพุทธศักราช 2567
พิธีมุทิตาสักการะพระมหาเถระและพระเถระ ประจําปีพุทธศักราช พ.ศ. 2567 ณ วัดพระธรรมกาย จังหวัดปทุมธานี ในวันอาทิตย์ที่ 24 พฤศจิกายน เวลา 13.30 น.
ธัมมัทธชชาดก ชาดกว่าด้วยพูดอย่างหนึ่งทำอย่างหนึ่ง
มีภิกษุอยู่รูปหนึ่งเป็นผู้ที่ชอบพูดจาโป้ปดอยู่เสมอ คำพูดอย่างหนึ่งแต่การกระทำอีกอย่างหนึ่งจนเป็นที่ระอาใจในหมู่ภิกษุสงฆ์ด้วยกัน ภิกษุทั้งหลายได้พาภิกษุที่ชอบโกหกไปเข้าเฝ้าองค์พระศาสดาเพื่อให้พระองค์ได้ชี้แนะตักเตือน
เกฬิสีลชาดก ชาดกว่าด้วยปัญญาสำคัญกว่าร่างกาย
พระเจ้าพรหมทัตทรงครองราชสมบัติอยู่ ณ กรุงพาราณสี พระองค์ทรงชอบการกลั่นแกล้งทรมานคนแก่ชราและสัตว์ที่แก่ไร้เรี่ยวแรง นำมากลั่นแกล้งในรูปแบบต่าง ๆ จนท้าวสักกะทนไม่ไหวจำต้องเสด็จลงมาใช้อุบายทำการสั่งสอนให้พระองค์ได้ทรงสำนึกในการกระทำที่ไม่สมควร
ปานียชาดก ชาดกว่าด้วยการทำบาปแล้วรังเกียจบาปที่ทำ
“ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ขึ้นชื่อว่ากิเลสเป็นของเล็กน้อยไม่มีเลย ธรรมดาว่าภิกษุต้องข่มกิเลสที่เกิดแล้วแล้วเสีย บัณฑิตครั้งก่อนเมื่อพระพุทธเจ้ายังไม่เสด็จอุบัติต่างก็ข่มกิเลสทั้งหลายเสียได้บรรลุปัจเจกพุทธญาณ ”