ส่องธรรม ล้ำภาษิต : คําพูดของคนไม่ดี
ปกติของคนดี คือ คิดดี พูดดี ทําดี ปกติของคนไม่ดี คือ คิดไม่ดี พูดไม่ดี ทําไม่ดี
ความหลากหลายของเปรต (๒)
ชนเหล่าใดยังเป็นมาณพ อันเทวทูตตักเตือนแล้วประมาทอยู่ นรชนเหล่านั้นจะเข้าถึงหมู่สัตว์เลว เศร้าโศกสิ้นกาลนาน ส่วนนรชนเหล่าใด เป็นสัตบุรุษผู้สงบระงับในโลกนี้ อันเทวทูตตักเตือนแล้ว ย่อมไม่ประมาทในธรรมของพระอริยะ ในกาลไหนๆ เห็นภัยในความถือมั่นอันเป็นเหตุแห่งชาติและมรณะแล้ว ไม่ถือมั่น หลุดพ้นในธรรมเป็นที่สิ้นชาติและมรณะได้ นรชนเหล่านั้นเป็นผู้ถึงความเกษม มีสุข ดับสนิทในปัจจุบัน ล่วงเวรและภัยทั้งปวงและเข้าไปล่วงทุกข์ทั้งปวงได้
ขุนรบแดนอาทิตย์อุทัย มุ่งสู่เป้าหมาย 12,700 องค์
แดนอาทิตย์อุทัยขณะนี้กำลังร้อนระอุไปด้วยไฟแห่งการทำหน้าที่สร้างองค์พระ ปิดเจดีย์ ทุกย่างก้าวเขย่าไปทั้งเกาะญี่ปุ่น จากเป้าหมาย 12,700 องค์ ก็ขยับเป้าหมายเพิ่มแล้วเพิ่มอีก อย่างไม่มีขีดจำกัด
ความไม่ประมาท เป็นทางอมตะ
ความไม่ประมาท เป็นทางอมตะ ความประมาท เป็นทางแห่งความตาย ผู้ไม่ประมาท ไม่มีวันตาย ผู้ประมาท ถึงมีชีวิตอยู่ก็เหมือนคนตายแล้ว
คนทั่วไปมักนึกไม่ถึงว่า ตนกำลังพินาศ
คนทั่วไปมักนึกไม่ถึงว่า ตนกำลังพินาศ เพราะวิวาททุ่มเถียงกัน ส่วนผู้รู้ความจริงเช่นนั้น ย่อมไม่ทะเลาะกันอีกต่อไป
วัดพระธรรมกายปารีสจัดพิธีทอดกฐิน ประจำปี พ.ศ.2557
วัดพระธรรมกายปารีส ประเทศฝรั่งเศส ได้จัดพิธีทอดกฐินประจำปีพุทธศักราช2557 โดยมีสาธุชนมารวมงานบุญเป็นจำนวนมาก
เป็น อยู่ คือ...วิถีชาวเขมร
เป็น อยู่ คือ.... วิถีชาวเขมร ในอดีตนั้นชนชาติที่อาศัยอยู่ในดินแดนนี้คือขอม ต่อมาเรียกว่าเขมรจนเป็นกัมพูชาเช่นปัจจุบัน ประชากรที่อาศัยในกัมพูชาส่วนมากเป็นชาวกัมพูชาร้อยละ 96 นอกจากนั้นเป็นชาวเวียดนาม จีน และอื่นๆ
กระแสแห่งเมตตาจิต
ผู้ใดผูกอาฆาตว่า เขาได้ด่าเรา เขาได้ฆ่าเรา ได้ชนะเรา หรือได้ลักขโมยของเราไป เวรของผู้นั้นย่อมไม่สงบระงับ ส่วนผู้ใดไม่ผูกอาฆาตว่า เขาได้ด่าเรา เขาได้ฆ่าเรา ได้ชนะเรา หรือได้ลักขโมยของเราไป เวรของผู้นั้นย่อมสงบระงับ
ศีล..สะพานข้ามสู่เทวโลก
“สีลํ เสตุ มเหสกฺโข สีลํ คนฺโธ อนุตฺตโร สีลํ วิเลปนํ เสฏฺฐํ เยน วาติ ทิโส ทิสํ ศีลเป็นสะพานข้ามฟากอันมีพลังมาก ศีลมีกลิ่นหอมอันยอดเยี่ยม ศีลเป็นเครื่องลูบไล้อันประเสริฐ บุคคลผู้สมบูรณ์ด้วยศีล ย่อมหอมฟุ้งไปทั่วสารทิศ” (ขุ.เถร.)
จิตอยู่ในกาย
พระพุทธศาสนาไม่ถือว่าจิตเป็นตัวตนที่แท้จริงแต่ถือว่าเป็นสิ่งที่อาศัยเหตุปัจจัยหลายอย่างทำให้เกิดขึ้น ตามกฎแห่งอนัตตา (ทุกสิ่งไม่ตัวตนที่จริงแท้) คือไม่มีตัวตนอันเป็นแก่น เหมือนต้นไม้ย่อมอาศัยดิน ราก ใบ แสงแดด อากาศ กิ่ง ทำให้มีตัวตนที่เรียกว่าต้นไม้ขึ้น