จิตแพทย์ชี้ภาพ เสียง เหตุรุนแรงทำเด็กซึมซับ เลียนแบบ แนะวิธีทำความเข้าใจให้"ลูก" เวลาดูข่าวการเมือง
สะเก็ดข่าวสั้นทันปรโลก ตอนที่ 3
ภายหลังจากที่กองทัพของแคว้นของพระราชาองค์ที่ออกบวชได้รับทราบข้อมูลและสถานที่ตั้งของแหล่งเสบียงขนาดใหญ่ของทหารฝ่ายข้าศึกซึ่งแอบซ่อนและตั้งอยู่กลางหุบเขาแห่งหนึ่งในละแวกนั้นแล้ว ทางกองทัพของพระราชาองค์ที่ออกบวชก็ไม่รอช้าได้จัดการวางแผนเข้าจู่โจมและทำลายคลังเสบียงของข้าศึกแห่งนี้ในทันที
วิบากกรรมของการพูดเพ้อเจ้อ
มีดที่ลับคมดีแล้ว ถึงจะเหมือนยาพิษที่ร้ายแรง ก็ไม่ทำให้ตายสนิทในทันทีทันใดเหมือนกับคำพูดชั่ว
เครื่องกั้นจิตปิดกั้นใจ
“จิต” ของมนุษย์นั้นเดิมทีมีความใสสว่าง สะอาดบริสุทธิ์ หรือที่เรียกว่า “จิตประภัสสร” แต่เพราะถูกอาคันตุกะกิเลส(กิเลสที่จรมา)
“ทีไอทีวี” เป็น “ทีวีสาธารณะ” โละทิ้งพนักงานทั้งหมด
มฤตยูฉุดคร่าคนผู้มัวเก็บดอกไม้ (กามคุณ)
กามคุณ ในพระพุทธศาสนาหมายถึง สิ่งที่น่าปรารถนา ชวนให้รักชักให้ใคร่ พาใจให้กำหนัดยินดี มี 5 ชนิด คือ รูป (สิ่งที่ตามองเห็น) เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ (สิ่งที่กายสัมผัส) กามคุณ 5 นี้เป็นอารมณ์ คือสิ่งที่ยึดดึงใจให้ปรารถนา ให้รักใคร่ เป็นต้น จึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "กามารมณ์" แปลว่า อารมณ์คือกามคุณ
กามคุณ
กามคุณ หมายถึง สิ่งที่น่าปรารถนา ชวนให้รักชักให้ใคร่ พาใจให้กำหนัดยินดี มี 5 ชนิด คือ รูป (สิ่งที่ตามองเห็น) เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ (สิ่งที่กายสัมผัส) กามคุณ 5 นี้เป็นอารมณ์ คือสิ่งที่ยึดดึงใจให้ปรารถนา ให้รักใคร่ เป็นต้น จึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "กามารมณ์" แปลว่า อารมณ์คือกามคุณ ไม่ได้หมายถึงอารมณ์ทางเพศเพียงอย่างเดียว
คณะสงฆ์จังหวัดปทุมธานี ร่วมกับวัดพระธรรมกาย ส่งมอบเตียงแก่โรงพยาบาลสนามร่วมใจรักษ์
คณะสงฆ์จังหวัดปทุมธานี ร่วมกับวัดพระธรรมกาย มูลนิธิธรรมกาย และภาคีเครือข่ายฯ ส่งมอบเตียง จำนวน 20 เตียง และถุงยังชีพ จำนวน 200 ถุง แก่โรงพยาบาลสนามร่วมใจรักษ์ ช่วยเหลือผู้ป่วยติดเชื้อโควิด-19
วัดพระธรรมกาย มอบเตียงให้กับโรงพยาบาลสนามอาชีวะรักษ์ปทุม
วัดพระธรรมกาย และมูลนิธิธรรมกาย และคณะศิษยานุศิษย์ฯ ได้มอบเตียง 300 เตียง และมอบสมทบอุปกรณ์จัดทำเตียงรองรับผู้ป่วยโควิด-19 จำนวน 150 ชุด ให้กับโรงพยาบาลสนามอาชีวะรักษ์ปทุม จ.ปทุมธานี
การปฏิบัติเพื่อฝึกใจตามเส้นทางสายกลาง
ในธัมมจักกัปปวัตนสูตรอันเป็นพระสูตรที่กล่าวถึงปฐมเทศนาของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงกล่าวถึง มัชฌิมาปฏิปทา หรือ ทางสายกลาง ซึ่งเป็นหนทางหรือข้อปฏิบัติที่ไม่ตึงเกินไปจนเป็นความลำบากแก่ตน (อัตตกิลมถานุโยค) ไม่หย่อนเกินไปจนเป็นการพอกพูนกามกิเลส(กามสุขัลลิกานุโยค) ...