คิดวุ่นวาย
คนโง่มัวคิดวุ่นวายว่า เรามีบุตร เรามีทรัพย์ เมื่อตัวเขาเองก็ไม่ใช่ของเขา บุตรและทรัพย์จะเป็นของเขาได้อย่างไร
ทำบุญด้วยเงินกับทำบุญด้วยแรง
คำถาม : ทำบุญด้วยเงินแล้วอธิษฐาน กับเอาแรงช่วยงานพระพุทธศาสนาแล้วอธิษฐาน ผลที่ได้รับจะต่างกันอย่างไรครับ
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๓ ( ปัญญาประเสริฐกว่าทรัพย์ )
เสนกะทูลว่า " ข้าแต่พระมหาราชเจ้า มโหสถยังเด็ก แม้ทุกวันนี้ปากของเธอยังไม่สิ้นกลิ่นน้ำนม มโหสถจะรู้อะไร ฝูงนกบินไปบินมาตามต้นไม้ในป่าที่มีผลดกฉันใด ชนเป็นอันมากย่อมคบหาสมาคมผู้มั่งคั่งมีโภคทรัพย์มาก เพราะความต้องการด้วยทรัพย์ ฉันนั้น เพราะฉะนั้น คนมีสิริสมบัติเท่านั้นเป็นคนประเสริฐ "
เมื่อหมดบุญ แม้อยากทำบุญ ก็ยังทำได้ยาก
เวลาคนหมดบุญ ก็มักจะมีแต่เรื่องไม่สบายใจ มีเหตุให้เสียทรัพย์ มีภาระจนไม่มีเวลา หรืออาจป่วยจนจะลุกไปทำบุญไม่ไหว.....
เหตุใดลูกจึงมีนิสัยทำบุญแบบเงินไม่หมดไม่กลับ
การทำบุญหนึ่งล้านบาท ด้วยใจใสเหมือนกัน แต่ทรัพย์ที่หามาได้ยากลำบากต่างกัน จะมีอานิสงส์แห่งบุญต่างกันหรือไม่ และการทำบุญจะส่งผลเร็วหรือช้า ขึ้นอยู่กับปัจจัยใดบ้างคะ
การกู้ยืมเงินมาทำบุญจะได้บุญมากน้อยแค่ไหน
ในกรณีที่เราไม่มีเงินทำบุญ แต่มีคนทำบุญให้เป็นชื่อเรา แล้วเราก็มีจิตยินดีเสมือนเป็นเงินของเราเอง และอนุโมทนากับเขา เวลาสมบัติเกิดขึ้นกับเรา จะมีเงื่อนไขใดๆ หรือไม่คะ
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 59
พระเจ้าวิเทหราชทรงสดับแล้ว ก็ทรงหนักพระทัยอยู่มิใช่น้อย เพราะตัวอย่างของโครวินทเศรษฐีที่ท่านเสนกะยกอ้างมานั้น พระองค์ก็ทรงทราบดี แม้นใครๆก็รู้จักทั่วบ้านทั่วเมือง เป็นข้อยืนยันมั่นคงว่า บุคคลผู้ไม่มีศิลปะ ไม่มีพวกพ้อง แม้รูปร่างจะไม่สมประกอบก็ตามที แต่ขอให้มีทรัพย์เพียงอย่างเดียวเท่านั้น อำนาจของทรัพย์ย่อมอำนวยสุขให้อย่างมหาศาล
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 60
อาจารย์เสนกะถูกมโหสถเย้ยกลับด้วยถ้อยคำที่เชือด เชือนเช่นนั้น ก็รู้สึกขุ่นเคืองใจอยู่ไม่น้อย แต่ก็พยายามสกัดกั้นอารมณ์นั้นไว้ไม่แสดงออก เพื่อให้สมกับที่ตนเป็นผู้มีอาวุโสกว่า ครั้นแล้วก็ได้กราบทูลท้าวเธอต่อไปว่า “ขอเดชะ มโหสถยังเด็กเหลือเกิน ปากก็ยังไม่สิ้นกลิ่นน้ำนม ผ่านโลกมาเพียงไม่กี่ปี แล้วเธอจะรู้อะไร พระพุทธเจ้าข้า”
บุญจากการว่ายนํ้าไปถวายภัตตาหารพระด้วยความยากลำบากนั้นมีอานิสงส์อย่างไร
คุณพ่อชอบทำบุญขณะที่นํ้าท่วมหนักท่านเคยเสี่ยงชีวิตว่ายนํ้า เพื่อเอาอาหารไปถวายพระที่วัด เพราะพระไม่สามารถออกมาบิณฑบาตได้
ผู้เป็นใหญ่ในทรัพย์
“มีน้ำต้องใช้น้ำให้เป็น ใช้ไม่เป็นก็เป็นขี้ข้าน้ำ มีไฟต้องใช้ไฟให้เป็น ใช้ไม่เป็นก็เป็นขี้ข้าไฟ