วิสาขามหาอุบาสิกา (ผู้ถึงฝั่งนิพพาน)
สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงต้องตาย เพราะชีวิตมีความตายเป็นที่สุด สัตว์ทั้งหลายจักไปตามกรรม เข้าถึงผลแห่งบุญและบาป คือ ผู้มีกรรมเป็นบาปจักไปสู่นรก ส่วนผู้มีกรรมเป็นบุญจักไปสู่สุคติ เพราะฉะนั้น พึงทำกรรมงามอันจะนำไปสู่สัมปรายภพ สั่งสมไว้ บุญทั้งหลายย่อมเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลายในปรโลก
ชีวิตชาวสวรรค์
ดูก่อนสารีบุตร เราย่อมกำหนดรู้ใจบุคคลบางคนในโลกนี้ด้วยใจ อย่างนี้ว่า บุคคลนี้ปฏิบัติอย่างนั้น ดำเนินอย่างนั้น และขึ้นสู่หนทางนั้น เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก จักเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ โดยสมัยต่อมา เราย่อมเห็นบุคคลนั้น เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก เข้าถึงแล้วซึ่งสุคติโลกสวรรค์ เสวยสุขเวทนาโดยส่วนเดียว ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์
มหาโควินทสูตรตอนที่ ๑ (เทวสันนิบาต)
ความพร้อมเพรียงของหมู่เป็นเหตุแห่งสุข ภิกษุผู้ยินดีในความพร้อมเพรียงกัน ตั้งอยู่ในธรรม ย่อมไม่เสื่อมจากธรรมอันเกษมจากโยคะ
เส้นทางจอมปราชญ์ (๒)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ผู้ที่ชักชวนเข้าในธรรมวินัยที่กล่าวไว้ดีแล้ว ๑ ผู้ที่ถูกชักชวนแล้วปฏิบัติเพื่อความเป็นอย่างนั้น ๑ คนทั้งหมดนั้น ย่อมประสบบุญเป็นอันมาก ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะธรรมนั้น ท่านกล่าวไว้ดีแล้ว
มงคลที่ ๔ อยู่ในถิ่นที่เหมาะสม - ทําสิ่งแวดล้อมให้เป็นปฏิรูปเทส ( ๓ )
โดยปกติเมื่อพระสัมมา สัมพุทธเจ้าทรงแสดงธรรม แม้คนฟังยืนอยู่ข้างหน้า ข้างหลังหรืออยู่เลยไปร้อยจักรวาล พันจักรวาลก็ตาม อยู่ในรูปภพหรืออรูปภพก็ตาม ต่างพากันกล่าวว่า "พระศาสดาทอดพระเนตรดูเราคนเดียว ทรงแสดงธรรมโปรดเราคนเดียว" นี้คืออานุภาพแห่งองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าของเรา
มงคลที่ ๒๗ มีความอดทน - ขันติธรรมอยู่ที่ไหน
พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงสรรเสริญขันติธรรมว่าเป็นเลิศ เป็นหลักเป็นประธานที่ทำให้เกิดคุณ คือ ศีล สมาธิ กุศลธรรมทุกอย่างจะเจริญขึ้นมาได้ ก็เพราะอาศัยขันติเป็นพื้นฐาน ผู้มีขันติธรรมอยู่ในใจ ได้ชื่อว่าเป็นผู้ย่างขึ้นสู่หนทางสวรรค์และนิพพานโดยแท้ พระพุทธองค์ยังทรงสรรเสริญอีกว่า "ยกเว้นปัญญาแล้ว เราตถาคตสรรเสริญว่า ขันติเป็นเลิศ" เพราะฉะนั้น ขันติบารมีจึงเป็นบารมีที่เราจะต้องสั่งสมไว้ให้มาก ให้ติดตามตัวเราไปทุกภพทุกชาติ
ชีวิตของนักสร้างบารมี
นรชนเหล่าใด คบหาสัตบุรุษผู้มีปัญญาดี ได้รับยกย่องว่าเป็นนักปราชญ์ ชนเหล่านั้นตั้งศรัทธาไว้ในพระสุคตเป็นเค้ามูลแล้ว ย่อมไปสู่เทวโลก หรือพึงเกิดในตระกูลสูงในโลกนี้ ชนเหล่านั้นเป็นบัณฑิต ย่อมบรรลุนิพพานโดยลำดับ
อนาถบิณฑิกเศรษฐี (ทรัพย์หมด แต่ไม่หมดศรัทธา)
บัณฑิตทั้งหลายย่อมไม่ประพฤติกรรมอันเป็นบาป เพราะเหตุแห่งความสุขของตน ถูกทุกข์กระทบแล้ว แม้จะพลาดพลั้งลงไป ก็สงบอยู่ได้ ไม่ละทิ้งธรรม เพราะความรัก และความชัง
หนวดเต่า เขากระต่าย
การบรรพชากระทำได้ยากแท้ การอยู่ครองเรือนเป็นเรื่องยาก ธรรมะเป็นของลึก การหาทรัพย์เป็นของยาก การเลี้ยงชีพของเราด้วยปัจจัย ๔ ตามมีตามได้ เป็นการยาก ผู้มีปัญญาควรคิดถึงอนิจจตาอยู่เนืองๆ
ครั้งหนึ่งในชีวิต..เราต้องเป็นประธานกองกฐินให้ได้
บางคนบอกว่า.. "ขอให้มีเงินเถิด จะทอดกฐินเมื่อไรก็ทอดได้" อีกทั้งยังบอกต่อว่า.. "เรารวยและมีศรัทธาจะกลัวอะไร ถ้าเราเตรียมปัจจัยและผ้าไตรไว้ให้มาก ๆ อย่างไรที่วัดเขาก็ต้องรับเราเป็นประธานกองกฐินอยู่ดี" แต่เชื่อไหม?...ความคิดเช่นนี้ถือเป็นความเข้าใจที่ผิดมาก!!!