เตรียมแผ่นลาน จารพระธรรม
ก่อนเสด็จดับขันธปรินิพพาน พระสัมมาสัมพุทธเจ้ารับสั่งกับพระอานนท์พุทธอุปัฎฐากว่า ดูก่อนอานนท์ ธรรมและวินัยที่เราแสดงแล้วบัญญัติแล้วแก่เธอทั้งหลาย หลังจากเราล่วงลับไป ก็จะเป็นศาสดาของเธอทั้งหลาย พระผู้มีพระภาคเจ้าไม่ได้ทรงตั้งสาวกองค์ใดให้เป็นพระศาสดาปกครองคณะสงฆ์สืบต่อจากพระองค์ แต่ทรงให้พระธรรมวินัย คือคำสั่งสอน เป็นศาสดาแทนพระองค์ต่อไปในกาลภายหน้า
วัดพระธรรมกาย จัดอบรมประวัติอักษรขอมโบราณ
วัดพระธรรมกาย จังหวัดปทุมธานี ได้จัดอบรมประวัติและวิวัฒนาการของอักษรขอมโบราณ
เปิดตัวพระไตรปิฎกฉบับธรรมชัย เล่มสาธิต
เมื่อวันเสาร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 โครงการพระไตรปิฎก วัดพระธรรมกาย ร่วมกับมูลนิธิธรรมกายและสถาบันศึกษา 10 แห่งทั่วโลก จัดงานสัมมนาและนิทรรศการพระไตรปิฎกบาลีครั้งประวัติศาสตร์
ขอเชิญชมนิทรรศการพระไตรปิฎกบาลีครั้งประวัติศาสตร์ "การสืบทอดพุทธธรรม : จากพุทธกาลสู่โลกปัจจุบัน"
เชิญร่วมงานสัมมนาและชมนิทรรศการพระไตรปิฎกบาลีครั้งประวัติศาสตร์ การสืบทอดพุทธธรรม: จากพุทธกาลสู่โลกปัจจุบัน โดย 4 นักวิชาการชั้นนำของโลก วันเสาร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ 2556 ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี
ด่วน! ข้อชี้แจ้งเรื่องโครงการพระไตรปิฎก
ชี้แจงกรณีมีผู้กล่าวอ้างว่า วัดพระธรรมกายจะทำการเปลี่ยนแปลงข้อความในพระไตรปิฎก เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้องตรงตามความเป็นจริง
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๔)
ในชั้นนี้โดยรวมแล้วเราพบหลักฐานธรรมกายในประเทศไทยทั้งหมด ๑๔ ชิ้น แบ่งเป็นศิลาจารึก ๖ หลัก จารึกลานเงิน ๑ ชิ้นคัมภีร์จารึกใบลานหนังสือพับสารวม ๖ คัมภีร์และในรูปแบบหนังสืออีก ๑ เล่ม
สัมมนาวิชาการและนิทรรศการเสมือนจริง "พระไตรปิฎกบาลีสู่สากล"
คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กำหนดจัดการสัมมนาวิชาการและนิทรรศการเสมือนจริง “พระไตรปิฎกบาลีสู่สากล” ตั้งแต่วันที่ 16 สิงหาคม – 21 กันยายน พ.ศ. 2564 (ผ่านระบบออนไลน์) จึงขออาราธนาพระภิกษุสามเณรทั่วประเทศ และขอเชิญชวนนิสิตนักศึกษา นักธรรม เยาวชน ครูผู้สอนด้านพระพุทธศาสนา ตลอดจนบุคคลทั่วไป เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ผ่านช่องทางออนไลน์ ดังนี้
พระพุทธศาสนากับความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์
ปุราณอักษรา
เส้นจารเนื้อความพระไตรปิฎกบนแผ่นลานนอกจากจะเป็นหลักฐานแสดงการสืบทอดพุทธธรรมแล้วยังเป็นหลักฐานบ่งบอกถึงวิวัฒนาการอักษรโบราณบนแผ่นดินไทยอีกด้วย
พระไตรปิฎกมรดก ๙ แผ่นดินแห่งกรุงรัตนโกสินทร์
นับตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี ทรงสถาปนา “กรุงเทพมหานคร” เป็นเมืองหลวงของราชธานี จวบจนปัจจุบันนับเป็นเวลา ๒๐๐ กว่าปี ที่ปวงชนชาวไทยอยู่เย็นเป็นสุขภายใต้พระบรมโพธิสมภารของสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้าผู้ครองแผ่นดินทั้ง ๙ พระองค์...