การออกกำลังกาย
การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ จะส่งผลให้กล้ามเนื้อ ซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญของโครงสร้างของร่างกาย มีความแข็งแรง มีความทนทานสูง มีความยืดหยุ่น และมีความคล่องตัว ย่อมส่งเสริมให้การรักษาภาวะสมดุลโครงสร้างของร่างกายมีประสิทธิยิ่งขึ้น
การทำกายบริหารในท่านอน
กายบริหารในท่านอน (การบิดขี้เกียจอย่างมีสติ) ให้บริหารร่างกายในท่านอนนี้ทุกวัน เวลาเข้านอน และก่อนจะลุกจากที่นอน หรือแม้เวลานอนพัก
การลุกจากที่นอน
คนเราต้องฝึกบริหารร่างกายอย่างน้อยวันละครั้ง แต่ดีที่สุดควรเป็น วันละ 2-3 ครั้ง คือ ตอนเช้าเมื่อตื่นนอน ตอนกลางวันช่วงพักจากการทำงาน และตอนเย็นก็บริหารอีกรอบ เพื่อจัดโครงสร้างของร่างกายให้เข้าที่ก่อนจะพักผ่อน
การทำกายบริหารในท่านั่งเบื้องต้น ตอนที่ 1
รายละเอียดของกายบริหารในท่านั่ง ได้แก่ ท่าเตรียมพร้อม, กายบริหารท่าที่ 1 และกายบริหารท่าที่ 2
การทำกายบริหารในท่านั่งเบื้องต้น ตอนที่ 2
รายละเอียดกายบริหารในท่านั่ง ได้แก่ กายบริหารท่าที่ 3 และกายบริหารท่าที่ 4
การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย
การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย คือ การบริหารร่างกาย เพื่อจัดการให้โครงสร้างของร่างกายอยู่ในภาวะสมดุลเสมอด้วยตัวของมันเอง นอกจากจะเป็นการจัดการให้โครงสร้างของร่างกายกลับสู่ภาวะสมดุลแล้ว ยังเป็นการฝึกกล้ามเนื้อให้ได้เรียนรู้ว่า การเคลื่อนไหวหรือการถูกดึงรั้งไปในทิศทางใด ผิดหรือถูกต้อง
อิริยาบถในชีวิตประจำวันที่ถูกและผิด (2)
ตัวอย่างอิริยาบทในชีวิตประจำวันที่ผิด และวิธีปฏิบัติอิริยาบทที่ถูกต้อง ได้แก่ ท่านั่งขับรถ, ท่ายืน เดิน วิ่ง, ท่ายกสิ่งของที่พื้น, ท่านอนที่ถูกต้อง
อิริยาบถในชีวิตประจำวันที่ถูกและผิด (1)
ตัวอย่างอิริยาบทในชีวิตประจำวันที่ผิด และวิธีปฏิบัติอิริยาบทที่ถูกต้อง ได้แก่ ท่านั่งสมาธิ ท่านั่งพับเพียบ ท่านั่งเทพบุตร ท่านั่งบนเก้าอี้ และท่านั่งอ่านหนังสือบนโต๊ะ
การระวังรักษาภาวะสมดุลของอิริยาบถ
การระวังรักษาภาวะสมดุลของอิริยาบถ หมายถึง ในการนั่ง นอน ยืน เดิน วิ่ง ทำงานหรือกิจกรรมใดๆ ก็ตาม ต้องฝึกตัวเอง ให้มีสติระวังรักษาแนวกระดูกสันหลังให้อยู่ในแนวแกนปกติของร่างกายอยู่เสมอ ด้วยการยืดแนวกระดูกสันหลังอย่างถูกวิธี
ดุลยภาพบำบัด
ดุลยภาพบำบัด คือ วิธีการป้องกันบำบัดรักษาโรคและบำรุงสุขภาพ ด้วยการปรับความสมดุลโครงสร้างของร่างกาย ดุลยภาพบำบัดจึงเป็นกระบวนทัศน์ใหม่ด้านสุขภาพและการแพทย์ที่ประยุกต์ใช้ความรู้พื้นฐานทางกายวิภาคและสรีรวิทยา เพื่อป้องกันและรักษาโรคด้วยตนเอง
สาเหตุที่ร่างกายเสียสมดุล
สาเหตุของความเจ็บป่วยหลายๆ โรค มาจากตัวเราเอง ดังนั้น เราจึงต้องมีสติควบคุมกำกับการทำงานของกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น และพังผืด ให้อยู่ในภาวะสมดุลอยู่เสมอ ร่างกายก็จะอยู่ในภาวะปกติตลอดเวลา
กระเพาะอาหารอักเสบ - โรคเกี่ยวกับหลัง - ตัวอย่างโรคที่เกิดจากการเสียดุลยภาพ
โรคกระเพาะอาหารอักเสบ เกิดจาก..กล้ามเนื้อตามแนวกระดูกสันหลังตึง การไหลเวียนถูกปิดกั้น ทำให้สัญญาณประสาทซิมพาเธติคบกพร่อง กรดจึงหลั่งไม่หยุด เมื่อกรดมีจำนวนมากก็กัดทำลายกระเพาะ ทำให้เยื่อบุกระเพาะเกิดการอักเสบ
ปวดข้อ - ตัวอย่างโรคที่เกิดจากการเสียดุลยภาพ
ตามธรรมดาเมื่อมีอาการปวดข้อ คนเราก็สนใจดูแลเฉพาะแต่ตรงข้อ หรืออย่างมากก็บอกว่า กล้ามเนื้อตรงบริเวณข้อไม่แข็งแรง จึงพยายามบริหารกล้ามเนื้อตรงข้อนั้นให้แข็งแรง แต่ความจริงมีอยู่ว่า กล้ามเนื้อที่ไม่ได้รับสัญญาณประสาทจากสมองจะบริหารอย่างไรก็ยากที่จะกลับมาแข็งแรงเหมือนเดิม
ภูมิแพ้ และหอบหืด - ตัวอย่างโรคที่เกิดจากการเสียดุลยภาพ
ผู้ที่เป็นโรคภูมิแพ้จะมีอาการน้ำมูกไหลไม่หยุด ทั้งนี้เพราะระบบประสาทอัตโนมัติซิมพาเธติคที่ทำหน้าที่ควบคุมการหยุดหลั่งน้ำมูก ซึ่งผ่านมาทางคอและทางท้ายทอยถูกปิดกั้น ไม่สามารถส่งสัญญาณได้ตามปกติ
เวียนศีรษะ - ตัวอย่างโรคที่เกิดจากการเสียดุลยภาพ
สิ่งที่ได้พบในคนไข้ที่มีอาการเวียนศีรษะคือ กล้ามเนื้อบริเวณคอของเขาตึงมาก จนกระทั่งไปปิดกั้นการไหลเวียนของเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะที่ทำหน้าที่ควบคุมการทรงตัว
ปวดหู หูอื้อ- ตัวอย่างโรคที่เกิดจากการเสียดุลยภาพ
อาการปวดหูและหูอื้อ เกิดจากกล้ามเนื้อคอตรงบริเวณนั้นตึงมาก ดึงรั้งอยู่ตลอดเวลาจนไปบีบรัดท่อที่เชื่อมระหว่างภายในช่องหูส่วนกลางกับภายในลำคอ
สายตาผิดปกติ - ตัวอย่างโรคที่เกิดจากการเสียดุลยภาพ
คนที่สายตาปกติ เวลาเขามองอะไรไม่ว่าใกล้หรือไกลก็ชัดทั้งนั้น ทำไมถึงชัด ก่อนอื่นต้องทำความเข้าใจให้ถูกว่า เลนส์ตาไม่ใช่แข็งเป็นแก้ว แต่เป็นเนื้อเยื่อใสๆ ที่ยืดหดได้ โดยอาศัยกล้ามเนื้อที่อยู่รอบๆ เลนส์ตา ทำหน้าที่ปรับเลนส์
ไมเกรน (โรคปวดศีรษะรุนแรงเรื้อรัง) - ตัวอย่างโรคที่เกิดจากการเสียดุลยภาพ
บางคนมีอาการปวดศีรษะอย่างรุนแรงและเรื้อรัง มักจะสงสัยว่า ตนเองอาจจะมีเนื้องอกในสมอง จึงไปขอให้แพทย์เอ็กซ์-เรย์ดู แต่ก็ไม่พบความผิดปกติใดๆ บางคนบอกว่า ตนปวดศีรษะเนื่องจากความเครียด แต่บางคนทั้งๆ ที่เครียดก็ไม่รู้สึกปวดศีรษะ
อาการที่แสดงถึงการเสียดุลยภาพภายในร่างกาย
สรุปอาการที่แสดงถึงการเสียดุลยภาพต่างๆ ในร่างกาย จากตอนที่ผ่านๆ มาพอสังเขป
ความรู้พื้นฐานที่นำไปสู่ความเข้าใจของการเกิดโรค ตอนที่ 3
ถ้ามีการเกร็งของกล้ามเนื้อตามแนวกระดูกสันหลังเกิดขึ้น กล้ามเนื้อ เส้นเอ็น และพังผืด ตามแนวกระดูกสันหลังนี้จะมีการดึงรั้งกันจึงเป็นเหตุให้การไหลเวียนถูกปิดกั้น และการไหลเวียนของเส้นประสาทที่ผ่านออกมาจากช่องว่างของกระดูกสันหลังบริเวณนั้นและการส่งสัญญาณบกพร่อง
Share
แชร์ลิงค์หน้านี้