มงคลที่ 38 - จิตเกษม - สำคัญที่ดวงจิต
เมื่อแน่ใจแล้วว่าอุบาสิกานี้รู้วาระจิตของตนจริงๆ ท่านจึงกลับมาคิดใคร่ครวญว่า "กรรมนี้หนักหนอ ธรรมดาปุถุชน ย่อมคิดถึงอารมณ์อันงามบ้างไม่งามบ้าง ถ้าเราจักคิดสิ่งอันไม่สมควรแล้ว อุบาสิกานี้จะรู้ทันเราเหมือนจับโจรได้พร้อมด้วยของกลาง อย่ากระนั้นเลย เราควรหนีไปเสียจากที่นี้จะดีกว่า" แล้วจึงลาอุบาสิกาไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า ถึงแม้ว่าอุบาสิกาจะทัดทานให้อยู่ต่อก็ตาม เมื่อไปถึงพระพุทธองค์ได้ตรัสถามเธอว่า "ภิกษุ เธออยู่ในที่นั้นไม่ได้หรือ"
ผู้นำรถหัวใจทองคำ อายุน้อยที่สุด
น้องแพรวได้ฝากบอก พี่ ป้า น้า อา คุณตา คุณยาย มาอีกด้วยว่า “ถึงหนูจะอายุแค่ 12ขวบ แต่หนูก็สู้ขาดใจค่ะ ยังไงก็จะตะลุยออกไปเชิญชวนคนมาร่วมงานกฐินหลวงปู่ให้ได้มากที่สุดค่ะ และหนูก็อยากให้ทุกๆคนสู้ไปพร้อมๆกันนะคะ เพราะยังไงหลวงปู่...ท่านก็ดูเราอยู่ ท่านจะช่วยเราให้สำเร็จแน่นอนค่ะ”
ลักษณะมหาบุรุษ (๒)
สัตว์ทั้งหลายมีกรรมเป็นของตน เป็นทายาทแห่งกรรม มีกรรมเป็นกำเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย กรรมย่อมจำแนกสัตว์ให้เลวและประณีตได้
ทำหน้าที่ครูเป็นครั้งสุดท้าย - พุทธประวัติ
พุทธประวัติ พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน
ทำไมจึงฉันมื้อเดียว
การฉันอาหารมื้อเดียว จะมีอาพาธน้อย ลำบากกายน้อย มีกำลัง และอยู่อย่างผาสุข
ติตติรชาดก ชาดกว่าด้วยความเคารพอ่อนน้อม
นิทานชาดกเรื่องติตติรชาดก ชาดกว่าด้วยความเคารพอ่อนน้อม “ขณะที่เรายังมีชีวิตอยู่ ภิกษุทั้งหลายยังไม่มีความยำเกรงกัน ถ้าหากเราปรินิพพานไปแล้ว ภิกษุทั้งหลายจะเป็นอย่างไร”
มิตตวินทุกชาดก-ชาดกว่าด้วยโทษผู้ลุอำนาจความปรารถนา
ครั้งหนึ่งเมื่อสมเด็จพระพุทธศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าเทศนาข้อตัณหาอันเป็นสิ่งกว้างขวางไร้ขอบเขตจำกัด ณ พระเชตะวันมหาวิหารในนครหลวงแห่งมคธรัฐ พุทธวัจนในพระธรรมบทนี้ได้รับการจดจำต่อๆ กันว่าชนเหล่าใดมากำหนัดยินดีตัณหานั้น ชนเหล่านั้นก็เช่นผู้ถูกจักรกรดไว้
กักกรชาดก ชาดกว่าด้วยผู้ฉลาดเอาตัวรอดได้
ครั้งนั้นมีศิษย์ของพระสารีบุตรรูปหนึ่ง ได้ยินว่าภิกษุรูปนั้นเป็นผู้ฉลาดในการดูแลสุขภาพของตนเอง ไม่ฉันของเย็นจัด ร้อนจัด เพราะเกรงว่าร่างกายจะไม่สบาย ไม่ออกไปข้างนอกเพราะเกรงว่าร่างกายจะกระทบหนาวและร้อนไม่ฉันจังหันที่แฉะและเป็นท้องเลน
กุกกุฏชาดก ชาดกว่าด้วยว่าด้วยผลของการไม่เชื่อง่าย
นางแมวเดินย่องเข้าไปใต้กิ่งไม้ที่พญาไก่ป่าเกาะอยู่ มันพยายามพูดหลอกล่อให้ไก่ป่าตายใจไม่ทันได้ระวังตัวแล้วจะตะครุบกินเป็นอาหาร “ พ่อไก่ผู้สง่างาม ผู้มีขนสีแดงเป็นประกาย เจ้าลงมาจากกิ่งไม้เถอะ เรามีเรื่องจะพูดคุยกับท่าน ”
มงคลที่ ๓๐ สนทนาธรรมตามกาล - สนทนาอย่างบัณฑิต
"ดูก่อนมหาบพิตร ถ้ามหาบพิตรจักสนทนาตามเยี่ยงอย่างบัณฑิต อาตมภาพก็พร้อมจะสนทนากับมหาบพิตร แต่ถ้ามหาบพิตรจักสนทนาตามเยี่ยงอย่างของพระราชา อาตมาก็จักไม่สนทนาด้วย" พระยามิลินท์ตรัสถามว่า “บัณฑิตทั้งหลายสนทนากันอย่างไร”