กุลาวกชาดก ชาดกว่าด้วยการเสียสละ
พระศาสดาครั้นทรงแสดงพระธรรมเทศนาแล้ว ตรัสกับภิกษุว่า ดูก่อนภิกษุ บัณฑิตทั้งหลายในกาลก่อนครองราชย์สมบัติในเทวโลก ถึงจะสละชีวิตของตนก็ไม่กระทำปานาติบาตรด้วยประการดังนี้ เธอชื่อว่าบวชในศาสนาอันเป็นเครื่องนำออกจากทุกข์ เห็นปานนี้เหตุใดจักดื่มน้ำมีตัวสัตว์มิได้กรองเล่า
วันพระของชาวสวรรค์
บุคคลไม่ควรดูหมิ่นต่อบุญว่า มีประมาณน้อย จะไม่มาถึงเรา แม้หม้อน้ำย่อมเต็มได้ด้วยหยาดน้ำตกทีละหยดๆ ฉันใด ผู้มีปัญญาสั่งสมบุญ แม้ทีละน้อยๆ ย่อมเต็มได้ด้วยบุญ ฉันนั้น
บุญเท่านั้นที่ปรารถนา
บัณฑิตทั้งหลาย สรรเสริญความไม่ประมาทในการสั่งสมบุญ เพราะผู้ไม่ประมาทย่อมยึดเอาประโยชน์ทั้งสองไว้ได้ คือประโยชน์ในปัจจุบันนี้และประโยชน์ในสัมปรายภพ
ทวยเทพสดับธรรม
บัณฑิตทั้งหลาย ฟังธรรมแล้ว ย่อมเป็นผู้มีจิตผ่องใส เหมือนห้วงนํ้าที่มีความลึก เป็นห้วงนํ้าใสสะอาด ไม่มีความขุ่น ฉะนั้น
เนมิราชชาดก บำเพ็ญอธิษฐานบารมี (๑๑)
สิ่งที่มวลมนุษยชาติทั้งหลายแสวงหา คือ ทำอย่างไรจึงจะสามารถใช้ชีวิตอย่างมีความสุข
เนมิราชชาดก บำเพ็ญอธิษฐานบารมี (๑๐)
การได้อัตภาพเป็นมนุษย์ นับเป็นความโชคดีที่สุดในโลก... เพราะจะทำให้มีโอกาสได้สั่งสมความดีสร้างบารมีให้ยิ่งๆขึ้นไป
เนมิราชชาดก บำเพ็ญอธิษฐานบารมี (๙)
ปัจจุบัน คนส่วนใหญ่มักให้ความสำคัญกับการสั่งสมบุญน้อยกว่าการสั่งสมทรัพย์ เพราะเราอยู่ในยุคสมัยของโลกาภิวัฒน์ที่มนุษย์วิ่งตามกระแสวัตถุ
เนมิราชชาดก บำเพ็ญอธิษฐานบารมี (๗)
พระรัตนตรัย คือ พุทธรัตนะ ธรรมรัตนะ และสังฆรัตนะ เป็นสมบัติอันลํ้าค่ากว่ารัตนะใดๆ ในโลก เพราะเป็นที่พึ่งทั้งใน
เนมิราชชาดก บำเพ็ญอธิษฐานบารมี (๘)
พระรัตนตรัย คือ รัตนะอันลํ้าค่ายิ่งกว่ารัตนะใดๆ ในโลก เพราะเป็นที่พึ่งที่ระลึกทั้งในโลกนี้และโลกหน้า...
เนมิราชชาดก บำเพ็ญอธิษฐานบารมี (๕)
รสแห่งธรรมเลิศกว่ารสทั้งปวง ความสุขที่เกิดจากการเข้าถึงธรรมอันบริสุทธิ์ภายใน ประเสริฐกว่าความสุขอื่น...